สืบค้นงานวิจัย
โครงการวิจัยสร้างเครื่องต้นแบบอัดขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ยางพารา
วิชัย ประยูร - การยางแห่งประเทศไทย
ชื่อเรื่อง: โครงการวิจัยสร้างเครื่องต้นแบบอัดขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ยางพารา
ชื่อเรื่อง (EN): The prototype of Compression Rubber MOuld Machine
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: วิชัย ประยูร
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: โครงการวิจัยนี้เป็นโครงการวิจัยสร้างเครื่องต้นแบบอัดขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ยางพาราเพื่อใช้ในกระบวนการอัดขึ้นรูปด้วยแม่พิมพ์อัดขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ล้อยางจำนวน2ชุดโดยการใช้เครื่องอัดรูปผลิตภัณฑ์ยางพาราร่วมกับแรงงานคนเพื่อควบคุมการทำงานในการทอดเอาชิ้นงานสำเร็จแล้วอกจากแม่พิมพ์และบรรจุยางผสมกับสารเคมีเพื่ออัดขึ้นเป็นผลิตภัณฑ์ลงในแม่พิมพ์และนำไปตัดแต่งครีบส่วนเกินออกจากชิ้นส่วนงานสำเร้จรูปสำหรับการนำไปปประกอบกับชุดดุมล้อเพื่อประกอบร่วมกับชิ้นส่วนอุปกรณ์อื้่นต่อไปเครื่องต้นแบบอัดขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ยางพาราเป็นเครื่องอัดแบบ4เสาโครงสร้างทำจากเหล็กกล้าผสมคาร์บอนตัวเครื่องประกอบด้วย4ส่วนคือโครงฐานเครื่องอัดขึ้นรูปและตู้ควบคุมการทำงานด้วยระบบไฟฟ้าชุดถังระบบไฮดรอลิกส์ต้นกำลังแม่พิมพ์อัดขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ยาง2ชุดและแท่นสำหรับเลื่อนป้อนแม่พิมพ์เข้า-ออกเครื่องอัดขึ้นรูปโดยตู้ควบคุมการทำงานด้วยระบบไฟฟ้าและชุดแท่นสำหรับเลื่อนป้อนแม่พิมพ์เข้า-ออกจะยึดติดประกอบกับโครงฐานเครื่องอัดขึ้นรูปตัวเครื่องใช้ระบบไฮโดรอลิคส์ให้แรงอัดขึ้นรูปสูงสุด40ตันแท่นอัดขึ้นรูปให้พลังงานความร้อน15.36กิโลวัตต์สามารถตั้งอุณหภูมิความร้อนได้สูงสุด250องศาเซลเซียสแท่นอัดขึ้นรูปมีขนาดความกว้าง425มิลลิเมตรความยาว480มิลลิเมตรระยะเลื่อนขึ้นลงของแท่นอัดขึ้นรูป500มิลลิเมตรความเร็วเลื่อนขึ้น-ลงของแท่นอัด60เซนติเมตร/นาทีแท่นอัดขึ้นรูปสามารถใช้กับแม่พิมพ์อัดขึ้นรูปขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางโตสุด400มิลลิเมตร
บทคัดย่อ (EN): The objective of research as to study favorable conditions for the cutting text on para wood by computer numerical controlled milling for industrial utilization in relevant domains. The study computer statistical method for experimental design and analyzed data by Minitab movement in angel with rough-wood piece, feed rate(F), speed,(S). and depth of cut to yield surface of acceptable roughness (R). In furniture before surface polishing, the value of surface roughness were in the rang of 3.0-9.0 Mm. for this experiment dried para wood of 11-13% humidity was used at 100-750 mm./min. in feed rate with direction of cutting tool movement in angel with rough-wood piceat-90 degree, at 100-2500 rpm. In speed and with1-3mm. of cutting depth. It was found from the experiment that the factors affecting surface roughness value at lower feed rate and speed of cycle , with a tendency for reduction of roughness value at lower feed rate and greater speed of cycle. Therefore, in the cutting of milling on para wood it was possible to determine a cutting condition by means of the equation Ra=4.22-(0.0053 x S) Ra =2.25+(0.00075 x F) based on analysis of reliable data. And fix Ra have 3.0-9.0 Mm
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2552
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: การยางแห่งประเทศไทย
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
โครงการวิจัยสร้างเครื่องต้นแบบอัดขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ยางพารา
การยางแห่งประเทศไทย
2552
กลุ่มวิจัยยางพารา การยับยั้งอย่างจำเพาะเจาะจงต่อการแสดงออกของยีน Rubber Elongation Factor (REF) ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างโปรตีนก่อภูมิแพ้ในยางพาราด้วยเทคโนโลยีแอนติเซน การศึกษาเบื้องต้นในการส่งถ่ายยีนเข้าสู่ยางพาราด้วยเทคนิค Agrobacterium transformation การวิจัยเครื่องถอนต้นกล้ายางพารา การติดตาม ประเมินผล และการใช้ประโยชน์โครงการวิจัยด้านยางพารา การสังเคราะห์งานวิจัยขนาดเล็กและขนาดกลางเรื่องยางพาราเพื่อสนับสนุนการสร้างนักวิจัยรองรับอุตสาหกรรมยางพารา โครงการ เครื่องเลื่อยไม้ยางพาราแบบใหม่เพื่อลดการสูญเสีย การออกแบบและสร้างเครื่องต้นแบบกรีดยางพาราแบบใช้มอเตอร์ไฟฟ้า การวิจัยพัฒนาการผลิต ผลิตภัณฑ์ยางและอุตสาหกรรมการแปรรูปไม้ยางพารา การพัฒนานักวิจัยเพื่อผลิตงานวิจัยยางพาราที่มีประสิทธิภาพ

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก