สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนของการปลูกข้าวอินทรีย์ในจังหวัดเพชรบูรณ์
อัจฉรา กลิ่นจันทร์ - มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
ชื่อเรื่อง: การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนของการปลูกข้าวอินทรีย์ในจังหวัดเพชรบูรณ์
ชื่อเรื่อง (EN): The Study Cost and Returns of Organic Rice Cultivation in Phetchabun
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อัจฉรา กลิ่นจันทร์
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค้นทุนและผลตอบแทนการทางการเงินของ เกษตรกร และการวิเคราะห์ ผลตอบแทน การปลูกข้าวอินทรีย์ในเขตพื้นที่จังหวัด เพชรบูรณ์ ของ เกษตรกรผู้ปลูกข้าวอินทรีย์ ในพื้นที่ 8 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอหล่มสัก อำเภอน้ำหนาว อำเภอเขาค้อ อำเภอหนองไผ่ อำเภอ ชนแดน อำเภอวังโปร่ง และอำเภอ ศรีเทพ จำนวน 70 ราย รายการประเมินต้นทุน-ผลตอบแทนจากการปลูกข้าวอินทรีย์ในจังหวัด เพชรบูรณ์ โดยแบ่งแยกตาม ขนาดพื้นที่ในการผลิต คือพื้นที่ขนาดเล็ก(1-10ไร่)พื้นที่ขนาดกลาง (! 1-29ไ;) และขนาดใหญ่ (30 ไร่ ขึ้นไป) พบว่า ดันทุนการผลิดข้าวอินทรีย์ของเกษตรกรพื้นที่ปลูกขนาดเล็ก มีต้นทุนต่อหน่วยต่ำ ที่สุด คือ 16.37 บาทกิโลกรัม รองลงมาคือพื้นที่ขนาคใหญ่ มีต้นทุนต่อหน่วย 17.90 บาทกิโลกรัม และพื้นที่ขนาดกลาง มีต้นทุนต่อหน่วย 19.01 บาทกิโลกรัม ตามสำคับ โดยหากเปรียบเทียบ ระหว่างเกษตรกรทั้ง 3 กลุ่ม จะเห็นได้ว่าเกษตรกรที่การปลูกข้าวอินทรีย์ในพื้นที่ขนาคเล็ก 1-10 ไร่ มีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ ( NPV เท่ากับ 35,745.90บาท และค่าอัตราส่วนผลประ โยชน์ต่อต้นทุน ( B C เท่ากับ 1.60 มากกว่าเกษตรกรที่ปลูกข้าวอินทรีย์ในพื้นที่ขนาคใหญ่ และ ขนาดกลางซึ้งมีมูลค่า ปัจจุบันสุทธิ ( NPV) เท่ากับ 31,957.16 บาท และ 21,519.88 บาท ค่าอัตราส่วนผลประโยชน์ต่อ ต้นทุน (B/C) เท่ากับ 1.55 และ 1.40 สำหรับการวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตข้าวอินทรีย์เปรียบเทียบ รายอำเภอของจังหวัด เพชรบูร ณ์ พบว่าอำเภอ เขาค้อ มีต้นทุนในการปลูกข้าวอินทรีย์ต่ำสุด คิดเป็น จำนวนเงินเฉลี่ย เท่ากับ 12.25 บาทต่อกิโลกรัมรองลงมาเป็นอำเภอ หนองไผ่ มีต้นทุนเฉลี่ยเท่ากับ 12.69 บาทต่อกิโลกรัม อำเภอหล่มสัก มีดันทุนเฉลี่ยเท่ากับ 12.81 บาทต่อกิโลกรัม โดยพื้นที่อำเภอ เขาค้อมีค่าอัตราส่วนผลประโยชน์ต่อค้นทุน ( B C) สูงสุดเท่ากับ 2.29 รองลงมาเป็นพื้นที่อำเภอ หนองไผ่ และอำเภอ หล่มสัก มีค่าเท่ากับ 2.21 และ 2.14 พบว่าการลงทุนปลูกข้าวอินทรีย์ของ เกษตรกรทั้ง 3 ขนาดมีความปีนไปได้ในการลงทุน โดยเฉพาะเกษตรกรที่ปลูกข้าวอินทรีย์ในพื้นที่ ขนาดเล็ก
บทคัดย่อ (EN): The Purpose of this study is to study the cost and benefit of the agricultural financial benefit analysis and organic rice cultivation in the district of Phetchabun province. Farmers in the area 8 organic rice district; District, Lom Sak district. Khao Kho, Nong Phai district, Chon Daen district, Wang Pong district and Srithep district of 70 list items assess the cost-benefit from planting organic rice in Phetchabun province by divided by area size in the production. Is a small area (1-10 rai) area medium (11-29 rai) and large (30 rai or above), it was found that the cost of production of organic rice planting area and small farmers Cost per unit is the most 16.37 per kilogram, followed by large area, cost per unit 17.90 per kilogram, and the area size. Cost per unit 19.01 per kilogram, respectively. By comparing between farmers and 3 groups. It can be seen that the organic rice cultivation in a small space 1-10 rai , Net Present Value (NPV) was 35,745.90), and the Benefit Cost ratio (B / C) was 1.60 more farmers grow organic rice in the area of large and medium, which has a Net Present Value (NPV) was 31,957.16, respectively. 21,519.88), and the benefit-cost ratio (B / C) was 1.55 and 1.40 for cost analysis and comparison of organic rice production district of Phetchabun Province found in organic rice Khao Kho cost minimum. Thinking is the average of 12.25 per kilogram, followed by Nong Phai district; average cost equals 12.69 per kilogram. The rivers are equal 12.81 average cost per kilogram. The area of Khao Kho the benefit-cost ratio (B / C) was highest, followed by 2.29 areas of Nong Phai district and Lom Sak. Equals 2.21, and 2.14. Organic rice production in all three farm sizes are worthwhile especially most favorable in the case of small farm size.
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2556-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนของการปลูกข้าวอินทรีย์ในจังหวัดเพชรบูรณ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
30 กันยายน 2557
การเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทนจากการปลูกข้าวอินทรีย์และข้าวใช้สารเคมีของเกษตรกรในอำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี ต้นทุนและผลตอบแทนการปลูกยางพาราในจังหวัดเพชรบูรณ์ ข้าวให้พลังงานผสานคุณค่าอาหาร การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อบูรณาการ การเพิ่มประสิทธิภาพการปลูกข้าวอินทรีย์ของกลุ่มผู้ปลูกข้าวอินทรีย์จังหวัดบุรีรัมย์ การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบระหว่างต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนการปลูกข้าวของกลุ่มเกษตรกร ในจังหวัดกาญจนบุรี การศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนของการปลูกสตรอว์เบอร์รี ในเขตอำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ปัจจัยที่มีผลต่อ ต้นทุนการผลิต ผลผลิต และผลตอบแทน จากการปลูกมันสำปะหลังของเกษตรกรในเขตจังหวัดเพชรบูรณ์ การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนของการปลูกยางพาราในจังหวัดเชียงราย ศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม การจัดการพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งและน้ำท่วมที่มีต่อการปลูกข้าวในจังหวัดเพชรบูรณ์

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก