สืบค้นงานวิจัย
ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาตาหวานจุด (Priacanthus tayenus Richardson, 1846) ในอ่าวไทย
พัชรี พันธ์เล่ง - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาตาหวานจุด (Priacanthus tayenus Richardson, 1846) ในอ่าวไทย
ชื่อเรื่อง (EN): Biology of Bigeyes, Priacanthus tayenus Richardson, 1846 and P. macracanthus Cuvier, 1892 in the Gulf of Thailand
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: พัชรี พันธ์เล่ง
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Patcharee Puntuleng
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาตาหวานจุดในอ่าวไทยได้ดำเนินการตั้งแต่เดือนมกราคมถึงธันวาคม 2550โดยเก็บรวบรวมตัวอย่างจากเครื่องมืออวนลากคู่ อวนลากแผ่นตะเฆ่ อวนลอยและอวนล้อมจับ ที่นำสัตว์น้ำมาขึ้นท่าเทียบเรือประมงตั้งแต่จังหวัดตราด ถึงจังหวัดสงขลา พบว่าปลาตาหวานจุดมีความสัมพันธ์ระหว่างความยาวตลอดตัวกับน้ำหนักตัว แบบรวมเพศอยู่ในรูปสมการ W=0.0430TL2.6156มีความยาวตลอดตัวอยู่ในช่วง 9.00-28.50 เซนติเมตร และมีน้ำหนักอยู่ในช่วง 14.00-255.55 กรัม เพศผู้ W=0.0420TL2.6121มีความยาวตลอดตัวอยู่ในช่วง 9.70-28.50 เซนติเมตร และมีน้ำหนักอยู่ในช่วง 17.00-255.55 กรัมและเพศผู้เมีย W=0.0273 TL2.7841มีความยาวตลอดตัวอยู่ในช่วง 9.00-26.50 เซนติเมตร และมีน้ำหนักอยู่ในช่วง 14.00-244.22 กรัมตามลำดับ มีการเจริญเติบโตแบบ allometricอัตราส่วนเพศผู้ต่อเพศเมีย เท่ากับ 1:0.71ขนาดแรกเริ่มสืบพันธุ์ของเพศผู้ และเพศเมีย เท่ากับ 17.38และ14.83 เซนติเมตรตามลำดับสามารถวางไข่ได้ตลอดทั้งปีมีช่วงการวางไข่มาก 2 ช่วง คือในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายน และช่วงเดือนมิถุนายนถึงธันวาคม โดยวางไข่สูงสุดในเดือนธันวาคมความดกไข่มีค่าอยู่ในช่วง 44,858–115,383 ฟอง จำนวนไข่เฉลี่ย 78,326 ฟอง ที่ขนาดความยาวตลอดตัวช่วง 15.00-22.40 เซนติเมตรและมีความสัมพันธ์ระหว่างความยาวตลอดตัวกับความดกไข่อยู่ในรูปสมการF=0.1074.6TL1.4630
บทคัดย่อ (EN): Reproductive biology of Purple-Spotted Bigeye (Priacanthustayenus Richardson, 1846) in the Gulf of Thailand were conducted from January to December 2007 by collecting data from pair-trawlers, otter board trawlers, drift gill nets and purse seines which landed fish at fishing ports in Tratprovince to Songkhla province. The results showed that the relationship between total length and body weight of Purple-SpottedBigeyewere W=0.0430TL2.6156which have length ranged from 9.00-28.50 centimeterand weight ranged from 14.00-255.55gram.The male fishwereW=0.0420TL2.6121which have length ranged from 9.70-28.50 centimeter and weightranged from 14.00-255.55 gramand The female fish were W=0.0273 TL2.7841which have length ranged from 9.00-26.50centimeter and weight ranged from14.00-244.22 gramrespectively.Their growth wereallometric type. Sex ratio of male and female was1:0.71. The average sizes at first maturity of male and female were 17.38and 14.83 centimeter, respectively.Spawning season were found throughout the year. The peaks showed during February-April and June-December.The fecundity was 44,858 – 115,383 (78,326)eggs, at the total length15.00-22.40 centimeterand the relationship between fecundity and total length wasF=0.1074.6TL1.4630.
ชื่อแหล่งทุน: เงินงบประมาณแผ่นดิน
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2549-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551-12-31
เอกสารแนบ: https://www.fisheries.go.th/marine/research/files/th/72561.pdf
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2551
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยประยุกต์
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาตาหวานจุด (Priacanthus tayenus Richardson, 1846) ในอ่าวไทย
กรมประมง
31 ธันวาคม 2551
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
กรมประมง
การประเมินสภาวะทรัพยากรปลาตาหวานจุด (Priacanthus tayenus Richardson, 1846) ในอ่าวไทย ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาสีกุนตาโต (Selar crumenopthalmus Bloch, 1793)) ในอ่าวไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรปลาตาหวานจุด (Priacanthus tayenus Richardson, 1846) ทางฝั่งทะเลอันดามันของไทย ชีววิทยาการสืบพันธุ์ปลาปากคมหางจุด Saurida undosquamis (Richardson, 1848) ในอ่าวไทย ชีววิทยาสืบพันธุ์ของปลาทูในบริเวณอ่าวไทยตอนใน ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาสีกุนตาโต (Selar crumenopthalmus Bloch, 1793)) ในอ่าวไทย ชีววิทยาปลาข้างเหลืองชนิด Selaroides leptolepis (Cuvier, 1833) ในอ่าวไทย ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาแข้งไก่(Megalaspis cordyla (Linnaeus,1758)) ในอ่าวไทย ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาทูแขกครีบยาว Decapterus maruadsi (Temminck & Schlegel, 1843) ในอ่าวไทย สภาวะแวดล้อมเขตชายฝั่งในอ่าวไทย
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก