สืบค้นงานวิจัย
โครงการวิจัยและพัฒนาสบู่ดำ : พืชพลังงานทดแทน
สุนีย์รัตน์ ศรีเปารยะ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
ชื่อเรื่อง: โครงการวิจัยและพัฒนาสบู่ดำ : พืชพลังงานทดแทน
ชื่อเรื่อง (EN): The Research and Development of Physic nut (JatrophacurcasL.) : Renewable Energy Crop
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สุนีย์รัตน์ ศรีเปารยะ
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาระยะปลูกที่เหมาะสมของสบู่ดำ ศึกษาการตัดแต่งกึ่ง สบู่ดำ และเพื่อทราบวิธีการปลูกและการผลิตที่ถูกต้องสำหรับการปลูกสบู่ดำแซมใน ไม้ผลหรือ ไม้ยืนดัน โดยทำการปลูกสบู่ดำแซมในสวนสั่ม สวนยางพารา และสวนปาล์มน้ำมัน ระยะปลูกต่างๆ 3 คือระยะ ปลูก 1X1 เมตร 1.5X1.5 เมตร และ 2x2 เมตร และใช้วิธีการตัดแต่ง 3 วิธีการ คือ การไม่ตัดแต่ง การตัด แต่งโดยการตัดลำต้นที่ความสูง 30 เซนติเมตร และการตัดแต่งโดยการตัดลำต้นที่ความสูง 60 เซนดิเมตร จากการศึกษาพบว่า ในระยะแรกของการปลูกสบู่ดำมีความสูงของลำต้นไม่แดกต่างกัน หลังทำการตัดแต่งที่อาย 3 เดือน บู่ดำที่ตัดแต่งมีความสูงของลำดันน้อยกว่าการ ไม่ตัดแต่งมีความ แตกต่างกันทางสถิติ การตัดแต่งกับการไม่ตัดแต่งมีขนาดของลำต้นไม่แตกต่างกันทางสถิติ การตัดแต่งมี ผลทำให้การแตกกิ่งแขนงและการที่สบู่ดำมีกึ่งแขนงเพิ่มขึ้นส่งผลต่อผลผลิตสูงขึ้น โดยการตัดแต่งโดย การตัดลำต้นที่ความสูง 60 เซนติเมตร มีกิ่งแขนงและผลผลิตสูงสุดมีความแตกต่างกันทางสถิติ แต่การ ตัดแต่งทำให้การให้ผลผลิตช้าลงมีความแตกต่างกันทางสถิติ ส่วนระขะปลูกพบว่ามีผลโดยตรงต่อ ความสูงของลำต้น โดยระยะปลูกที่สูงขึ้นจะทำให้ความสูงของลำต้นลดลงมีความแดกต่างกันทางสถิติ และระชะปลูกที่สูงขึ้นยังทำให้ผลผลิตสูงขึ้นโดชระะปลูก 2x2 เมตร มีจำนวนผลผลิตสูงที่สุดมืความ แตกต่างกันทางสถิติ และสบู่ดำที่ปลูกแซมในสวนไม้ผลไม้ยืนดันมีเปอร์เซ็นต์น้ำมันเฉลี่ยระหว่าง 26.54-26.76 เปอร์เซ็นต์
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2549-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2552-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
โครงการวิจัยและพัฒนาสบู่ดำ : พืชพลังงานทดแทน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
30 กันยายน 2552
การวิจัยและพัฒนา การพัฒนาระบบการถ่ายยีนในสบู่ดำ โครงการจัดการนิคมการเกษตรพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน การวิจัยพลังงานในอาคาร (ฺBuilding Energy Research) ทุนปริญญาเอก - น.ส.ดารารัตน์ ทองดี วิจัยและพัฒนาการปลูกระบบ Aeroporic ความสำคัญของการพัฒนาปาล์มน้ำมัน: เพื่อใช้ในการเพิ่มผลผลิตของพลังงานทดแทน การวิจัยและพัฒนากระบวนการผลิตเอทานอลคุณภาพสูงจากข้าวโพดเพื่อใช้เป็นพลังงานทดแทน การพัฒนาและทดสอบเครื่องสกัดน้ำมันสบู่ดำด้วยระบบอัดเกลียว วิจัยและพัฒนาพันธุ์สบู่ดำเพื่อการเพิ่มผลผลิตโดยการผสมพันธุ์ โครงการถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีพลังงานทดแทนแบบคาร์บอนต่ำในภูมิภาคอาเซียนเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ครั้งที่ ๓

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก