สืบค้นงานวิจัย
สภาวะการทำประมงหอยลายและเศรษฐกิจ-สังคมในพื้นที่อ่าวไทยตอนบน
ทวีป บุญวานิช, ทวีป บุญวานิช - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: สภาวะการทำประมงหอยลายและเศรษฐกิจ-สังคมในพื้นที่อ่าวไทยตอนบน
ชื่อเรื่อง (EN): Status of Short-necked clam Fishery and Socio-Economic in the Upper Gulf of Thailand
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: หอยลายมีแพร+กระจายอยู+ในบริเวณอ+าวไทยหลายชนิดด วยกันโดยหอยลายชนิด Paphia undulata (short necked clam, surf clam, venus clam, catpet clam หรือ undulation clam) เปOน ชนิดเด+นของประเทศไทยทั้งฝQRงอ+าวไทย และฝQRงอันดามัน เปOนหอยเศรษฐกิจที่ทํารายได ในการส+งออกให กับ ประเทศไทยในปT 2546 เปOนมูลค+า 252.6 ล านบาท (กรมประมง, 2548) การประมงหอยลายในประเทศไทยนั้น มีมานานแล วและเริ่มทําการประมงอย+างจริงจังตั้งแต+ปT 2514 แหล+งทําการประมงของหอยลายมีการกระจาย อยู+ทั่วไปตามแนวชายฝQRงทะเลทั้งภายในและบริเวณห+างฝQRงมากกว+า 3 กิโลเมตร และอยู+ใกล ปากแม+น้ําในระดับ ความลึก 3-15 เมตร ในอ+าวไทยพบอยู+ที่ระดับความลึกน้ํา 4-6 เมตร (สรามิศร, 2532) ในสภาพพื้นท องทะเล เปOนดินเลน หรือทรายปนโคลน หอยลายสามารถฝQงตัวอยู+ในพื้นดินที่ระดับความลึกของผิวดิน 1-4 นิ้ว (สุนันท และคณะ, 2528) ปQจจุบันแหล+งหอยลายพบมากอยู+ในบริเวณปากแม+น้ําท+าจีน และแม+น้ําบางปะกง ขณะที่ในปT 2519 แหล+งหอยลายที่ใหญ+ที่สุดของประเทศ คือ จังหวัดตราด (กรมประมง, 2535) แต+ปQจจุบันมีปริมาณลดลง มากจนไม+มีการทําประมง ในอ+าวไทยตอนบนหรือที่เรียกกันว+าอ+าวไทยตอนใน ยังมีแหล+งประมงหอยลายที่สําคัญๆ อยู+ในเขตจังหวัดสมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี ฉะเชิงเทรา และสมุทรปราการ (มาลา และจินตนา, 2548) ซึ่งแหล+งหอยลายหลายแห+งไม+สามารถทําการประมงได อย+างต+อเนื่องติดต+อกันหลายปT จําเปOนต องมีการหยุด ทําการประมงประมาณ 1-2 ปT หรือมากกว+านั้นจึงกลับมาทําประมงได อีก เนื่องจากแหล+งประมงหอยลาย เสื่อมโทรมลง ประชากรหอยลายเติบโตไม+ทันต+อการทําประมง จนทําให ในบางแหล+งไม+สามารถฟ\]นตัวได อีก (ไพเราะ และสุนันท , 2536) และยังมีปQญหากับเครื่องมือประมงอื่นๆ เนื่องจากพื้นที่ทําการประมงซ อนทับกัน ดังนั้น เพื่อป^องกันการเกิดปQญหาที่อาจจะมีขึ้นในอนาคต จึงจําเปOนต องศึกษาแหล+งและปริมาณการเก็บเกี่ยว ของเรือประมงคราดหอยลายในพื้นที่อ+าวไทยตอนใน เพื่อนํามาใช บริหารจัดการประมงหอยลายในเชิงมาตรการ ก+อให เกิดความเสมอภาคในการใช ทรัพยากรร+วมกันกับชาวประมงเครื่องมือประมงอื่นๆ ในพื้นที่เดียวกัน
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2552-05-31
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
สภาวะการทำประมงหอยลายและเศรษฐกิจ-สังคมในพื้นที่อ่าวไทยตอนบน
กรมประมง
31 พฤษภาคม 2552
กรมประมง
การทำประมงหอยลายในพื้นที่อ่าวไทยตอนบน ต้นทุนและผลตอบแทนของการทำประมงคราดหอยลายบริเวณอ่าวไทยตอนบน ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาข้าราชการกรมประมง การทำประมงของเรือคราดหอยลายขนาดมากกว่า 30 ตันกรอส ในอ่าวไทย ปี 2560 - 2561 สภาวะแวดล้อมเขตชายฝั่งในอ่าวไทย การศึกษาการประมงบริเวณอ่าวบ้านดอน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ชีววิทยาปลาข้างเหลืองชนิด Selaroides leptolepis (Cuvier, 1833) ในอ่าวไทย การฟื้นฟูแหล่งพ่อแม่พันธุ์หอยลาย (Paphia undulata)บริเวณจังหวัดตราด ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาแข้งไก่(Megalaspis cordyla (Linnaeus,1758)) ในอ่าวไทย ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาสีกุนตาโต (Selar crumenopthalmus Bloch, 1793)) ในอ่าวไทย

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก