สืบค้นงานวิจัย
ระยะพัฒนาการต่อปริมาณสารพฤกษเคมีและความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระในใบมะนาวโห่
ภานุวัฒน์ สีพันธ์ - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ระยะพัฒนาการต่อปริมาณสารพฤกษเคมีและความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระในใบมะนาวโห่
ชื่อเรื่อง (EN): Developing Stage on Phytochemical Content and Antioxidant Activities in Karanda Leaves
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ภานุวัฒน์ สีพันธ์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Panuwat Seepun
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: มะนาวโห่ส่วนใหญ่นิยมรับประทนในส่วนทีเป็นผลแต่พบว่า ผลมะนาวโห่มีช่วงเวลาในการติดผลไม่สามารถออกผลได้ตลอดทั้งปี การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณสารพฤกษเคมี และความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระในใบมะนาวโห่ในแต่ละระยะ เนื่องจากมะนาวโห่มีใบออกตลอดทั้งปี และไม่มีการพลัดใบ จึงได้ทำการประเมินปริมาณสารพฤกษเคมีบางประการ และกิจกรรมของสารต้านอนุมูลอิสระในใบมะนาวโห่ โดยทำการประเมินใบสดทั้ง 3 ระยะ คือ ใบอ่อน ใบเพสลาด และใบแก่ ผลจากการศึกษาพบว่า เมื่อใบมะนาวโหมีระยะพัฒนาการเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ปริมาณสารพฤกษเคมีเพิ่มขึ้นด้วย ซึ่งในระยะใบแก่ให้มีปริมาณ Phenolic, Flavonoids, ความเป็นกรด วิตามินซี น้ำตาล ทั้งหมดมากที่สุด และความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระแบบ FRAP มากที่สุด ระยะใบอ่อนให้ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระแบบ DPPH มากที่สุด และระยะใบเพสลาดให้ความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระแบบ ABTS มากที่สุด ดังนั้นการเลือกนำใบมะนาวให้ไปใช้ประโยชน์จึงควรพิจารณาที่ระยะใบแต่ละระยะ เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์จากใบมะนาวโห่ได้อย่างสูงสุด
บทคัดย่อ (EN): Karanda fruit (Carissa carandas L.) is an indigenous fruit in Thailand and it is available in all parts of the country. The fruit is popular because of its good taste with sour and sweet flavors. However, production of karanda fruit is dependent on seasons as the crop does not yield fruits all year round, and the fruit is available in the market in some seasons and rare in the others. The objective of this study was to evaluate phytochemicals and antioxidant activity in leaves of karanda at different leaf development stages as karanda is an evergreen plant and leaves are available all the time for all growth stages. The information on phytochemicals and antioxidant activity in leaves of karanda might provide the possibility to use leaves as a substitute of fruits for production of these phytochemicals. The evaluation was carried out at three leaf growth stages including young leaves, fully expanded leaves and mature leaves. Mature leaves had the highest total phenolic content, total flavonoid content, tritratable acid, vitamin C and total soluble solid, and the values of antioxidant activity determined by FRAP and ABTS were also highest. Fullyexpended leaves had the highest values of antioxidant activity determined by DPPH. The information in this study is important for selection and utilization of karanda leaves to obtain high phytochemicals and antioxidant activity at different leaf growth stages.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2559
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2560
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=O057 Hor44 new.pdf&id=2666&keeptrack=1
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ระยะพัฒนาการต่อปริมาณสารพฤกษเคมีและความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระในใบมะนาวโห่
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2560
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
การเปรียบเทียบสารพฤกษเคมี และ ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของส่วนต่างๆ จากข้าวสาลีบดพันธุ์แม่โจ้ ผลของอุณหภูมิการอบแห้งต่อสารพฤกษเคมีและฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระของหน่อไม้ตงลืมแล้ง (Bambusa beecheyana) ผลของอายุเก็บเกี่ยวและวิธีการทำให้สุกต่อปริมาณแอนโทไซยานิน และความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระในข้าวโพดข้าวเหนียวสีม่วง พัฒนาการดอกและผลของมะนาวโห่ ผลของสายพันธุ์ต่อความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์การต้านออกซิเดชันของมะเขือเทศราชินี การวิเคราะห์ประเมินค่าการต้านอนุมูลอิสระสารสกัดในใบเมี้ยง การศึกษาอิทธิพลของความร้อน ต่อความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระของพืชผักไทยบางชนิด ผลของระยะเวลาการเก็บเกี่ยว ต่อปริมาณ โพแทสเซียม กรดแคฟเฟอิก กรดโรสมารินิก และปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระ ในหญ้าหนวดแมว ผลของสายพันธุ์พริกและเครื่องเทศต่อความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระของผลิตภัณฑ์พริกปรุงรสสมุนไพร สมบัติบางประการทางกายภาพ คุณสมบัติเคมีและสารต้านอนุมูลอิสระของใบและผลมะกิ๊ง

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก