สืบค้นงานวิจัย
การเจริญเติบโตและผลผลิตของหวายบางพันธุ์ที่ปลูกร่วมกับยางพารา
สุทัศน์ ด่านสกุลผล - การยางแห่งประเทศไทย
ชื่อเรื่อง: การเจริญเติบโตและผลผลิตของหวายบางพันธุ์ที่ปลูกร่วมกับยางพารา
ชื่อเรื่อง (EN): Growth and Yield of some Varieties of Rattan as Multi-storeyed with Hevea
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สุทัศน์ ด่านสกุลผล
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ปัจจุบันต้องนำเข้าหวายจากต่างประเทศจำนวนมากขึ้น เพาระหวายเป็นวัตถุดิบสำคัญของอุตสาหกรรมการทำเฟอร์นิเจอร์ สภาพแวดล้อมในสวนยางมีความเหมาะสม สามารถที่จะปลูกหวายได้ ผลการทดลองปลูกหวาย 3 พันธุ์ ได้แก่พันธุ์ตะค้าทอง กำพวน และน้ำผึ้ง ที่สถานีทดลองยางกระบี่ พังงา ระนอง และที่ศูนย์วิจัยยางสุราษฏร์ธานี ไม่พบว่าการปลูกหวานพันธุ์ต่าง ๆ จะมีผลกระทบทำให้ผลผลิตยางแตกต่างกันทางสถิติแต่อย่างใด ส่วนผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของยางพารานั้นก็ไม่พบเช่นกัน นอกจากนั้น หากเปรียบเทียบหวายทุกสถานีทดลอง จะเห็นได้ชัดว่าสถานีทดลองยางระนอสามารถปลูกหวายได้ดีทุก ๆ พันธุ์ รองลงมาคือ สถานีทดลองยางกระบี่และพังงา ตามลำดับ
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: ม.ป.ป.
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: ม.ป.ป.
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: การยางแห่งประเทศไทย
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเจริญเติบโตและผลผลิตของหวายบางพันธุ์ที่ปลูกร่วมกับยางพารา
การยางแห่งประเทศไทย
ไม่ระบุวันที่เผยแพร่
ศึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตหวายบางพันธุ์ที่ปลูกเป็นพืชร่วมในสวนยาง ผลของการให้น้ำชลประทานต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของยางพารา ปีที่1 ผลของการให้น้ำชลประทานต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของยางพารา (ปีที่ 2) กลุ่มวิจัยยางพารา อิทธิพลของสภาพภูมิอากาศของพื้นที่ปลูกต่อการเจริญเติบโต และการให้ผลผลิตของยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การเจริญเติบโตและผลผลิตของขนุนพันธุ์ต่าง ๆ เมื่อปลูกร่วมกับยางพารา ผลของการให้น้ำชลประทานต่อการเจริญเติบโต และการให้ผลผลิตของยางพารา (ปีที่ 3) การศึกษาเบื้องต้นในการส่งถ่ายยีนเข้าสู่ยางพาราด้วยเทคนิค Agrobacterium transformation อิทธิพลของการปลูกหวายตะค้าทองและพืชร่วมบางชนิดที่ใช้เป็นค้างต่อการเจริญเติบโต ของยางพาราในเขตภาคใต้ตอนบน ผลของการใช้เทคโนโลยีชีวภาพร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตยางพาราในกลุ่มชุดดินที่ 39

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก