สืบค้นงานวิจัย
ระยะเวลาที่เหมาะสมในการใช้ฮอร์โมน 17 alpha methyltestosterone ในการผลิตลูกปลานิลแปลงเพศ ระบบน้ำหมุนเวียน
ธน เย็นเปิง - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: ระยะเวลาที่เหมาะสมในการใช้ฮอร์โมน 17 alpha methyltestosterone ในการผลิตลูกปลานิลแปลงเพศ ระบบน้ำหมุนเวียน
ชื่อเรื่อง (EN): Optimal Feeding Period for Oral Administration of 17 Alpha Methyltestosterone of Sex Reversal of Nile tilapia, Oreochromis niloticus (Linn.) in the Water Recirculation System
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ธน เย็นเปิง
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การทดลองผลิตลูกปลานิลแปลงเพศ โดยให้ลูกปลากินอาหารสําเร็จรูปชนิดผง ผสมฮอร์โมน 17 alpha methyltestosterone (17 α - MT) อัตราความเข้มข้น 40 มิลลิกรัมต่ออาหาร 1 กิโลกรัม ที่ระยะเวลา แตกต่างกัน คือ 0, 15, 18 และ 21 วัน ในถังไฟเบอร์กลาสระบบน้ำหมุนเวียน ดำเนินการทดลองระหว่างเดือน มกราคม ถึงเดือน มีนาคม 2555 ณ ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดมหาสารคาม ปลาทดลองมีน้ำหนักเริ่มต้นเฉลี่ยเท่ากับ 0.015±0.0010, 0.015±0.0010, 0.016±0.0006 และ 0.015±0.0015 กรัม ตามลำดับ ความยาวเริ่มต้นเฉลี่ยเท่ากับ 6.7±0.10, 6.7±0.23, 6.8±0.15 และ 6.7±0.10 มิลลิเมตร ตามลำดับ ผลการทดลองพบว่าลูกปลามีน้ำหนักสุดท้ายเฉลี่ยเท่ากับ 1.309±0.2200, 1.693±1.3121, 2.003±0.5821 และ 2.082±0.4406 กรัม ตามลำดับ ความยาวสุดท้ายเฉลี่ยมีค่าเท่ากับ 33.3±1.86, 34.1±10.44, 36.7±4.25 และ 38.0±2.01 มิลลิเมตร ตามลำดับ ลูกปลานิลทั้ง 4 ชุดการทดลอง มีอัตราการเจริญเติบโต ไม่แตกต่างกันทางสถิติ (p < 0.05) แต่มีแนวโน้มว่าลูกปลาจะเจริญเติบโตดีขึ้น เมื่อลูกปลาได้กินอาหารผสมฮอร์โมน นานขึ้น อัตราการรอดตายของลูกปลานิลมีค่าเท่ากับ 87.5±2.32, 90.0±3.14, 92.3±1.87 และ 93.2±3.36 เปอร์เซ็นต์ตามลำดับ จำนวนเพศผู้ มีค่าเท่ากับ 51.1±3.34, 85.2±1.95, 90.6±1.02 และ 96.6±0.51 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ พบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < 0.05) ทุกชุดการทดลอง จากผลการทดลองจะเห็นได้ว่าที่ระยะเวลาให้ลูกปลากินอาหารผสมฮอร์โมน 0, 15 และ18 วัน ลูกปลา มีสัดส่วนเพศผู้ไม่เพียงพอต่อความต้องการในเชิงพาณิชย์ (< 95 เปอร์เซ็นต์) จึงสรุปได้ว่า ในการทดลองผลิตลูกปลานิลแปลงเพศครั้งนี้ ให้ลูกปลากินอาหารผสมฮอร์โมน 17 α - MT อัตราความเข้มข้น 40 มิลลิกรัมต่ออาหาร 1 กิโลกรัม เป็นเวลา 21 วัน เหมาะสมที่สุด
บทคัดย่อ (EN): Seed production of sex reversal of nile tilapia, Oreochromis niloticus (Linnaeus, 1758) in fiberglass tanks using water recirculation system were fed with 40 mg/kg of 17 α - MT hormone food five time a day for four different feed for period at 0, 15, 18 and 21 day were conducted at Mahasarakham Inland Fisheries Research and Development Center during January – March 2012. Fish with the initial sizes of 0.015±0.0010, 0.015±0.0010, 0.016±0.0006 and 0.015±0.0015 g and 6.7±0.10, 6.7±0.23, 6.8±0.15 and 6.7±0.10 mm, respectively. The results showed that the average final body weights were 1.309±0.2200, 1.693±1.3121, 2.003±0.5821 and 2.082±0.4406 g and average total lengths were 33.3±1.86, 34.1±10.44, 36.7±4.25 and 38.0±2.01 mm, respectively. Final body weights and total lengths of fish were no significant differences (p < 0.05), but it is likely that the baby will grow up. When larvae were fed up hormones. The survival rate of tilapia fry were 87.5±2.32, 90.0±3.14, 92.3±1.87 and 93.2±3.36 percent, the proportion of males were 51.1±3.34, 85.2±1.95, 90.6±1.02 and 96.6±0.51 percent found. difference is statistically significant (P < 0.05) in all treatments. The result can be seen that the period for the larvae fed hormones 0, 15 and 18 days is not enough to induce sex reversal commercially (< 95 percent). It can be concluded that Tilapia production in the experiment was sex reversal. The larvae feed on mixed hormone 17 α - MT. At a concentration of 40 mg/kg at optimum 21 days.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2555-12-31
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ระยะเวลาที่เหมาะสมในการใช้ฮอร์โมน 17 alpha methyltestosterone ในการผลิตลูกปลานิลแปลงเพศ ระบบน้ำหมุนเวียน
ธน เย็นเปิง
กรมประมง
31 ธันวาคม 2555
กรมประมง
การศึกษาระดับของฮอร์โมนที่ตกค้างในการผลิตลูกปลานิลแปลงเพศ ระบบน้ำหมุนเวียน (การศึกษาระดับของฮอร์โมน(17 alpha-methyltestosterone)ที่ตกค้างในการผลิตลูกปลานิลแปลงเพศ ระบบน้ำหมุนเวียน การศึกษาระดับของฮอร์โมนที่ตกค้างในการผลิตลูกปลานิลแปลงเพศ ระบบน้ำหมุนเวียน (การศึกษาระดับของฮอร์โมน(17 alpha-methyltestosterone)ที่ตกค้างในการผลิตลูกปลานิลแปลงเพศ ระบบน้ำหมุนเวียน การศึกษาระดับของฮอร์โมน (17 alpha methyltestosterone) ที่ตกค้างในการผลิตลูกปลานิลแปลงเพศระบบน้้าหมุนเวียน การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงปลานิลแปลงเพศ การผลิตลูกปลานิลแปลงเพศในถังไฟเบอร์กลาสระบบน้ำหมุนเวียนที่ความหนาแน่นแตกต่ากัน การเลี้ยงปลานิลในกระชังด้วยระบบ LVHD (การเลี้ยงปลานิลแปลงเพศในกระชังด้วยอัตราความหนาแน่นสูง) การตรวจฮอร์โมน 17 อัลฟา เมทิลเทสโทสเตอโรนในปลานิลแปลงเพศ การพัฒนาระบบน้ำหมุนเวียนสำหรับการเลี้ยงปลาดุกลูกผสม (Clarias macrocephalus X C. gariepinus) ผลของอัตราและระยะเวลาการใช้น้ำหมักชีวภาพกากยีสต์ที่เหมาะสมเพื่อผลิตคะน้า การเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ปลากะรังดอกแดง Ephinephilus coiodes (Hamilton,1822)ในระบบน้ำหมุนเวียนชีวภาพ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก