สืบค้นงานวิจัย
การเปรียบเทียบโครงสร้างประชาคมและผลจับสัตว์น้ำระหว่างแปล่งปะการังเทียมและและกลุ่มปะการังเทียมบริเวณจังหวัดพังงา
อำนาจ ศิริเพชร - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: การเปรียบเทียบโครงสร้างประชาคมและผลจับสัตว์น้ำระหว่างแปล่งปะการังเทียมและและกลุ่มปะการังเทียมบริเวณจังหวัดพังงา
ชื่อเรื่อง (EN): A Comparison of Aquatic Animal Structure and Catch between Complex Reef and Group Reef in Phang Nga Province
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อำนาจ ศิริเพชร
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Amnaj Siripech
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การทดลองใช?อวนจมปลาจับสัตว?น้ําเปรียบเทียบโครงสร?างประชาคมสัตว?น้ําและอัตราการจับ สัตว?น้ําบริเวณกองปะการังเทียมที่จัดสร?างด?วยแท?งคอนกรีตบริเวณอําเภอท?ายเหมือง และตะกั่วทุ?ง จังหวัดพังงา ระหว?าง 3 ชุดทดลอง คือ แหล?งปะการังเทียม (6 กอง 3,307 แท?ง ปริมาตร 11,161 ลบ.ม.) กลุ?ม ปะการังเทียม (2 กอง 1,006 แท?ง ปริมาตร 3,395 ลบ.ม) และพื้นที่ควบคุม (แหล?งประมงธรรมชาติ) ทําการ เก็บตัวอย?างสัตว?น้ําจํานวน 95 เที่ยว ระหว?างเดือนพฤศจิกายน 2556-เมษายน 2557 จับสัตว?น้ําได?ทั้งหมด 86 ชนิด ชนิดสัตว?น้ําที่จับได?ในแหล?งปะการังเทียม กลุ?มปะการังเทียม และพื้นที่ควบคุมมีจํานวน 68 52 และ 48 ชนิด ตามลําดับ จํานวนตัวเฉลี่ย 7.285 6.067 และ 4.224 ตัวต?ออวน 100 เมตร ตามลําดับ ผลจับสัตว?น้ํา เฉลี่ย 1,498.45 1,484.30 และ 1,366.60 กรัมต?ออวน 100 เมตร ตามลําดับ แม?ว?าในแหล?งปะการังเทียมมีค?า มากที่สุดแต?ไม?มีความแตกต?างกันทางสถิติแหล?งปะการังเทียมมีดรรชนีความมากชนิดมากที่สุด เท?ากับ 33.74 ในขณะที่กลุ?มปะการังเทียมมีค?าดรรชนีความหลากหลายทางชนิดของแซนนอน-วายเนอร? (H) และ ดรรชนี ความสม่ําเสมอของพีลูมากที่สุด เท?ากับ 3.06 และ 0.77 ตามลําดับ และพื้นที่ควบคุมมีค?า H ต่ําที่สุด เท?ากับ 2.88 ค?าความคล?ายคลึงแบบเบรย?-เคอติสของโครงสร?างประชาคมสัตว?น้ําบริเวณแหล?งปะการังเทียม กับกลุ?มปะการังเทียมคล?ายคลึงกันร?อยละ 67.81 ส?วนแหล?งปะการังเทียม และกลุ?มปะการังเทียมคล?ายคลึง กับพื้นที่ควบคุมน?อยเพียงร?อยละ 55.02 และ 50.57 ตามลําดับ
บทคัดย่อ (EN): The experiment used bottom gill net to catch aquatic animal to compare the community structures and catch rates in concrete cubic blocks artificial reefs at Thaimuang and Takhuapa Districts, Phang Nga Province. Three treatments were complex reefs (6 set reefs, 3,307 concrete modules and 11,161 m3 ), group reefs (2 set reefs, 1,006 concrete modules and 3,395 m3 ) and control area (natural fishing ground). The samples were collected during November 2013-April 2014 with a total of 95 hauls. The total catch comprised 86 species. The catches from complex reef, group reef and control area included 68 52 and 48 species, respectively. Their averages individuals number per 100 meters of gill net were 7.285 6.067 and 4.224, respectively, and the averages catch per 100 meters of gill net were 1,498.45 1,484.30 and 1,366.60 grams, respectively. Although the catch in the control area was the highest, it was no significantly difference in statistic. The complex reef had the highest species richness that was 33.74. The group reef had the highest ShannonWeiner diversity index (H) and Pielou’s eveness that were 3.06 and 0.77, respectively. The lowest H was found from control area that was 2.88. Bray-Curtis similarity index of aquatic animal community structure between complex reef and group reef was 67.81 percent, between complex reef and group reef was 55.02 and between complex reef and control was 50.57 percent.
ชื่อแหล่งทุน: เงินงบประมาณแผ่นดิน
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 288,000.00
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2556-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557-09-30
เอกสารแนบ: https://elibonline.fisheries.go.th/elib/cgi-bin/opacexe.exe?op=dsp&opt=mrc&bid=9438&lang=1&db=Main&pat=&cat=sub&skin=s&lpp=20&catop=edit&scid=zzz
พื้นที่ดำเนินการ: จังหวัดพังงา
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2557
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยประยุกต์
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเปรียบเทียบโครงสร้างประชาคมและผลจับสัตว์น้ำระหว่างแปล่งปะการังเทียมและและกลุ่มปะการังเทียมบริเวณจังหวัดพังงา
กรมประมง
30 กันยายน 2557
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
กรมประมง
ศักยภาพของพื้นที่ในการจัดสร้างปะการังเทียมเพื่อการประมง ประชาคมปลาในปะการังเทียมที่จัดวางในระดับความลึกน้ำต่างกันบริเวณจังหวัดปัตตานี ความชุกชุมของปลาบริเวณปะการังเทียม จังหวัดนราธิวาส การศึกษาเปรียบเทียบพรรณปลาบริเวณปะการังเทียม ที่จัดสร้างด้วยวัสดุต่างกัน ในจังหวัดปัตตานีและนราธิวาส การศึกษาลักษณะพื้นทะเล การจมตัว และชนิดสัตว์น้ำที่อาศัยบริเวณกองปะการังเทียม จังหวัดเพชรบุรี สัตว์เกาะติดขนาดใหญ่บนพื้นผิวปะการังเทียม จังหวัดนราธิวาส ชนิดและปริมาณของสัตว์เกาะติดขนาดใหญ่บนพื้นผิวปะการังเทียมที่จัดวางในระดับความลึกน้ำต่างกันบริเวณจังหวัดปัตตานี การศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของชาวประมงในการจัดสร้างและบริหารจัดการปะการังเทียมจังหวัดเพชรบุรี องค์ประกอบชนิดของแพลงก์ตอนพืชทะเล และแพลงก์ตอนสัตว์ทะเล บริเวณแหล่งปะการังเทียมบ้านเกาะมุก จังหวัดตรัง การประมงอวนล้อมจับประกอบแสงไฟบริเวณจังหวัดพังงา
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก