สืบค้นงานวิจัย
การจัดการดินและธาตุอาหารเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังในจังหวัดนครราชสีมา
สมปอง นิลพันธ์ - กรมพัฒนาที่ดิน
ชื่อเรื่อง: การจัดการดินและธาตุอาหารเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังในจังหวัดนครราชสีมา
ชื่อเรื่อง (EN): Soil and Nutrient management recommendation for Cassava in Nakhon Ratchasima Province
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สมปอง นิลพันธ์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: จากผลการศึกษาผลวิเคราะห์ดิน พบว่าปริมาณอินทรียวัตถุที่พบในกลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินเหนียวละเอียด มี ปริมาณอินทรีชวัตถุอยู่ในระดับค่อนข้างต่ำถึงปานกลาง ได้แก่ชุดดินวังไห (W!) ส่วนกลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินร่วน ละเอียด ได้แก่ชุดดินสะดึก (Suk) และกลุ่มเนื้อดินทราย ได้แก่ชุดคินด่านขุนทด (Dk) มีปริมาณอินทรียวัตถุอยู่ใน ระดับต่ำ ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ ที่พบในชุดดินวังไห (W) ก่อนการทดลองอยู่ในระดับปานกลางแต่หลังการ ทคลองมีแนวโน้มสูงขึ้นถึงระดับสูง ชุดดินสะดึก (Suk) ก่อนการทคลองอยู่ในระดับต่ำแต่หลังการทดลองมีแนวไน้ม สูงขึ้นถึงระดับปานกลางถึงสูง และชุดดินค่านขุนทค (Dk) ก่อนการทคลองอยู่ในระดับปานกลางแต่หลังการทคลองมี แนวโข้มสูงขึ้นถึงระดับสูง และไพแทสเซียมที่สามารถแลกเปลี่ยนได้ ชุดคินวังไห (พ) อยู่ในระดับสูง ชุดคินสะดึก (Suk) อยู่ในระดับต่ำแต่หลังการทคลองมีแนวโน้มสูงขึ้นถึงระดับปานกลาง และ ชุดคินด่านขุนทค ()k) อยู่ในระดับ ต่ำ และปฏิกิริยาดิน ชุดดินวังไห (W!) เป็นกรดจัดถึงกรดปานกลาง ชุดดินสะตึก (Suk) ปฏิกิริยาดินเป็นกรคจัดมากแต่ หลังการทดลองมีแนวโน้มสูงขึ้นถึงกรดขัด และชุดดินด่านขุนทค (Dk) ปฏิกิริยาดินเป็นกรคขัดถึงกรดปานกลางแต่ หลังการทดลองมีแนวโน้มสูงขึ้นถึงกรดปานกลางถึงกรคเล็กน้อย ผลผลิตมันสำปะหลัง จากการทดลองพบว่าชุดดินวังไห (Wi) ตำรับการใส่ปุ๋ยเคมีอัตรา 7 กก/ไร่ + การใส่ อินทรีขวัตถุ : ตัน/ไร่ ให้ผลผลิตสูงสุดเท่ากับ 4,520 กก./ไร่ รองลงมาดำรับการใส่ปุ๊ยเคมีอัตรา 50 กก./ไร่ +ใส่ อินทรียวัตถุ 1 ดัน/ไร่ ให้ผลผลิต 3,753 กก./ไร่ ส่วนการไม่ใส่ปุ๊ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ให้ผลผลิตน้อยสุดเท่ากับ 2,767 กก/ไร่ ชุดดินสะตึก (Suk) ตำรับการใส่ปุ๊ยเคมีอัตรา 112. กก/ไร่ +- ใส่อินทรียวัตถุ 2 ตัน/ไร่ ให้ผลผลิตสูงสุดเท่ากับ 4,037 กก/ไร่ รองลงมาตำรับการใส่ปุ๋ยคมีอัตรา 75 กก/ไร่ + ใส่อินทรียวัตถุ 2 ตัน/ไร่ ให้ผลผลิต 3,490 กก./ไร่ ส่วน การไม่ใส่ปุ๋ยเคมีและปุ้ยอินทรีย์ให้ผลผลิตน้อยสุดเท่ากับ 2,700 กก/ไร่ และชุดดินด่านขุนทด (Dk) ตำรับการใส่ใส่ ปุ้ยเคมีอัตรา 150 กก.ไร่ + ใส่อินทรีวัตถุ 3 ตัน/ไร่ ให้ผลผลิตสูงสุดเท่ากับ 3,700 กก./ไร่ รองลงมาตำรับตำรับการใส่ ปุ้ยเคมีอัตรา 100 กก./ไร่ + ใส่อินทรียวัตถุ 3 ตัน/ไร่ ให้ผลผลิต 3,383 กก./ไร่ ส่วนการไม่ใส่ปุ๊ยเคมีและปุ้ยอินทรีย์ให้ ผลผลิตน้อยสุดเท่ากับ 2,217 กก/ไร่
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมพัฒนาที่ดิน
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การจัดการดินและธาตุอาหารเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังในจังหวัดนครราชสีมา
กรมพัฒนาที่ดิน
30 กันยายน 2556
อาหารจากมันสำปะหลัง การเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังโดยการจัดการดินและพืช การจัดการดินเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง การพื้นฟูดินสันป่าตองด้วยหญ้าแฝกเพื่อเพิ่มผลิตมันสำปะหลัง การจัดการธาตุอาหารรองและธาตุอาหารเสริมเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง แนวทางการลดต้นทุนการผลิตมันสำปะหลังและพัฒนาเครือข่ายของเกษตรกรผู้ผลิตมันสำปะหลังจังหวัดนครราชสีมา การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการดินและการฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์เพื่อการผลิตมันสำปะหลังในชุมชน การใช้เทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลังของเกษตรกรโครงการหมู่บ้านมันสำปะหลังพัฒนาในจังหวัดนครราชสีมา การใช้พืชตระกูลถั่วในระบบการปลูกพืชเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังที่ปลูกบนดินลูกรัง การเปรียบเทียบผลผลิตมันสำปะหลังในสภาพไร่เกษตร

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก