สืบค้นงานวิจัย
ผลของอุณหภูมิและเวลาในการเก็บรักษาต่อคุณภาพของหัวแก่นตะวันสายพันธุ์ต่างๆ
รัชฎา ตั้งวงค์ไชย - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ผลของอุณหภูมิและเวลาในการเก็บรักษาต่อคุณภาพของหัวแก่นตะวันสายพันธุ์ต่างๆ
ชื่อเรื่อง (EN): The Effect of Temperature and Time on the Quality Changes of various Kaentawan (Heliantus tuberosus L.) cultivars during storage conditions
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: รัชฎา ตั้งวงค์ไชย
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Ratchada Tangwongchai
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: แก่นตะวันเป็นพืชหัวสะสมฟุรุคแทน ซึ่งประกอบด้วยอินนูลินและรุคโตโอลิโกแซคคาร์ไรด์ งานวิจัย นี้เป็นการศึกษาเปรียบเทียบคุณลักษณะและผลของอุณหภูมิและเวลาในการเก็บรักษาต่อการเปลี่ยนแปลง คุณภาพของหัวแก่นตะวันสดตัดแต่งสายพันธุ์ HEL65 และ JA89 พบว่า ส่วนที่บริโภคได้ของหัวแก่นตะวัน สายพันธุ์ HEL65 มีปริมาณมากกว่าพันธุ์ JA89 คิดเป็นร้อยละ 71.02 และ 67.97 ตามลำดับ หัวแก่น ตะวันทั้ง 2 สายพันธุ์มีปริมาณ เถ้า ไขมัน รุคแตนและของแข็งที่ละลายได้ทั้งหมดไม่แตกต่างกัน (p>0.05) สายพันธุ์ HEL65 มีความสว่าง (1) ความแน่นเนื้อ ปริมาณความขึ้นและโปรตีนสูงกว่าสายพัน JA89 (PS0.05) ขณะที่สายพันธุ์ JA89 มีปริมาณใยอาหารทั้งหมดและใยอาหารที่ละลายน้ำมากกว่าสายพันธุ์ HEL65 (PS0.05) อย่างไรก็ตามค่ความเป็นสีแดง (2"),ค่าความเป็นสีเหลือง (๖") และใยอาหารที่ไม่ ละลายน้ำของแก่นตะวันทั้ง 2 สายพันธุ์ไม่แตกต่างกัน (p>0.05)หัวแก่นตะวันสดปอกเปลือกทั้งสองสาย พันธุ์มีปริมาณชื้อจุลินทรีย์ทั้งหมดและยีสต์-ราไม่แตกต่างกัน(p>0.05)และยังอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภาพทางจุลชีวิวิทยาของอาหารและภาชนะสัมผัสอาหารสำหรับอาหารพร้อมบริโภค (กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2536)เมื่อนำหัวแก่นตะวันสดตัดแต่งพร้อมบริโภคบรรจุบนถาดโฟมและหุ้ม ด้วยฟิลม์ยืดแล้วเก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิห้อง (30+4")5+1"ช และ 10+2"ซ พบว่า หัวแก่นตะวันสดตัดแต่ง สายพันธุ์ HEL65 และ JA89 แสดงลักษณะการเสื่อมเสียภายใน 5 และ 3วันในรหว่างการเก็บรักษาที่ อุณหภูมิห้อง ตามลำดับ โดยสายพันธุ์ HEL65 มีการเสื่อมเสียทางลักษณะนิ่มและเกิดสีแดงที่บริเวณผิวเนื้อ และสายพันธุ์ JA89มีฟองก๊ซและเมื่อกลื่นที่ผิว ทั้งนี้การเสื่อมเสียดังกล่าวน่าจะเป็นผลมาจากการ เจริญเดิบโตของจุลินทรีย์เป็นสำคัญการใช้อุณหภูมิต่ำช่วยยืดอายุการเก็บรักษา พบว่า หัวแก่นตะวันสาย พันธุ์ HEL65 มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะปรากฏและเน่าเสียช้ากว่าสายพันธุ์ JA89 โดยหัวแก่นตะวันสดตัด แต่งสายพันธุ์ JA89 จะเริ่มแสดงลักษณะการเสื่อมเสียในสัปดาห์ที่ 3 และ 4 ที่อุณหภูมิ 10#2"ช และ 511"ช ตามลำดับ ในขณะที่หัวแก่นตะวันสดตัดแต่งสายพันธุ์ HEL65 ที่อุณหภูมิการเก็บรักษา 10+2"ช และ 5+1"ช จะเริ่มแสดงการเสื่อมเสียในสัปดาห์ที่ 5จากการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ พบว่า อิทธิพลร่วมของอุณหภูมิ และเวลาในการเก็บรักษาไม่มีผลต่อความชื้น ปริมาณของแข็งที่ละลายได้ทั้งหมด ค่า L*, ค่า b* ความแน่น เนื้อ ฟรุคแตน ใยอาหาร กิจกรรมของเอ็นไซม์ PPo และ PALสารประกอบฟืนอลิคทั้งหมด กิจกรรมการ ต้านออกซิเดชั่น (วิเคราะห์โดยวิธี งPPH และ ABTS)ปริมาณจุลินทรีย์ทั้งหมด และปริมาณยีสต์-รา (p>0.05) แต่มีผลต่อค่า * ของหัวแก่นตะวันสดตัดแต่งสายพันธุ์ HEL65 (ps0.05)ในขณะที่อิทธิพลร่วม ของอุณหภูมิและเวลามีผลต่อปริมาณยอาหารที่ละลายน้ำได้รประกอบฟินอลิคทั้งหมด และปริมาณ ยีสต์-ราของหัวแก่นตะวันสดตัดแต่งสายพันธ์ JA89 (ps0.05) หัวแก่นตะวันสดตัดแต่งสายพันธุ์ HEL65 มี ค่า เ*ลดลงและค่าความเป็นสีแดง * เพิ่มมากขึ้นในระหว่างการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ "ช นาน 5 สัปดาห์ อย่างไรการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 10*ช นาน 5 สัปดาห์ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงค่ความสว่างและค่าสีแดง (ps0.05) อาจเนื่องจากหัวแก่นตะวันสดตัดแต่งสายพันธุ์ HEL65 าจเกิดอาการสะท้านหนาว ริมาณ เชื้อจุลินทรีย์ทั้งหมดและยีสต์-ราเพิ่มในระหว่างการเก็บรักษา เมื่อเทียบกับมาตรฐานคุณภาพทางจุล ชีววิทยาของอาหารและภาชนะสัมผัสอาหารสำหรับอาหารพร้อมบริโภคจะเห็นได้ว่า ผลิตภัณฑ์หัวแก่นตะวัน สดตัดแต่งสายพันธุ์ HEL65 และ A89 มีอายุการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 5"ช และ 10*ช นาน 1 สัปดาห์ ซึ่งยังคง ลักษณะปรากฏที่ดีและปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ในเกณฑ์มาตรฐาน
บทคัดย่อ (EN): KaenTaWan (Helianthus tuberosus L.) is a fructan plant, composing of inulin and fructo- oligosaccharides (FOS). This study was aimed to investigate characteristics and the effect of storage temperature and time on the quality of the fresh-cut KaenTaWan HEL65 variety comapared to JA89 variety. It was noted that the HEL65 tubers had a higher yield (71.02%) than JA89 (67.97%). The 2 cultivars had no significant different in a*, b* and contents of ash, fat, fructan and total soluble solid (p>0.05). The HEL65 had higher L*, firmness, moisture and fat content while had less total and soluble dietary fiber than those of JA89 (ps0.05). The fresh-cut of 2 varieties were not significantly different in total plate and yeast-mould count (p>0.05) which were under the microbial standard of food and food contacted container for ready to eat food. The fresh-cut tubers of both varieties were packed in foam trays, wrapped with film and stored at room temperature (30t4C), 10t2C and 5t1C. It was found that the fresh-cut of HEL65 and JA89 showed spoilage symptoms within 5 and 3 days during room temperature storage. The HEL65 showed the symptoms of softer texture and reddish color on surface and JA89 had tiny bubble and slimy surface. These might be due to microbial growth. The low temperature storage could retard the spolage. The changes in appearances and spoilage were found earlier in JA89 than HEL65. The JA89 fresh-cut showed spoilage symptoms within week-3 and week-4 at 10t2C and 5+1C, respectively, while the HEL65 fresh-cut implied symptoms within week-5. The statistical data analysis indicated that the interaction between storage temperature and time did not affect on moisture, total soluble solid, L*, b*, firmness, fructan, dietary, pPO and PAL activity, total phenolics, antioxidant activity (by DPPH and ABTS assay), microbial count and yeast-mould (p>0.05) except for a* of the HEL65 fresh-cut (ps0.05). The interaction did affect on soluble dietary fiber, total phenolics and yeast-mould content of JA89 fresh-cut (ps0.05). The HEL65 decreased in L* and increased in a*during storage at 5C for 5 weeks. However, storage at 10C for 5 weeks did not affect L* and a* (ps0.05). This could be due to that the HEL65 underwent chilling injury during storage. The microbial counts increased during storage. According to the microbial standard of food and food contacted container for ready to eat food, the HEL65 and JA89 fresh-cut had a shelf-life at 5C and 10C for 1 week which the products still present satisfactory appearances.
ชื่อแหล่งทุน: เงินงบประมาณแผ่นดิน
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2553
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยประยุกต์
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยขอนแก่น
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของอุณหภูมิและเวลาในการเก็บรักษาต่อคุณภาพของหัวแก่นตะวันสายพันธุ์ต่างๆ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2553
ผลของอุณหภูมิและระยะเวลาการเก็บรักษาต่อคุณภาพดอกของว่านสี่ทิศพันธุ์ซูซาน อิทธิพลของระดับอุณหภูมิและระยะเวลาในการลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็ว ต่อการเปลี่ยนแปลงคาร์บอนไดออกไซด์และออกซิเจนในขณะเก็บรักษา และคุณภาพหลังการเก็บรักษากล้วยหอมทอง การเปลี่ยนแปลงลักษณะคุณภาพของหัวแก่นตะวันสดในระหว่างการเก็บรักษา ผลของอุณหภูมิในการเก็บรักษาต่อคุณภาพของผลพลับพันธุ์พี 2 ในบรรจุภัณฑ์สุญญากาศ ศึกษาระดับอุณหภูมิการเก็บรักษาและภาชนะบรรจุที่เหมาะสมเพื่อรักษาคุณภาพเมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสดตระกูลถั่ว อิทธิพลของอุณหภูมิและระยะเวลาการเก็บรักษาที่มีผลต่อความคงทนของน้ำมันพืช กิจกรรมเอนไซม์ซูเปอร์ออกไซด์ดิสมิวเทสในหัวแก่นตะวัน สายพันธุ์ต่างๆ ผลของความร้อนและสารเคมีบางชนิดต่อคุณภาพของมะเขือเทศระหว่างการเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ำ การประเมินคุณค่าทางโภชนะของหญ้าแห้ง ที่ระยะเวลาการเก็บรักษาต่างกัน (3)ระยะเวลาการเก็บรักษาที่มีต่อคุณภาพของหญ้ากินนีสีม่วงแห้ง ผลของระยะเวลาการลดอุณหภูมิ ระดับอุณหภูมิ และภาชนะบรรจุ ต่อคุณภาพของมะม่วงพันธุ์น้ำดอกไม้สีทอง

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก