สืบค้นงานวิจัย
ผลของสารประกอบช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชในน้ำหมักจากMethylobacteriuum radiotolerans ที่มีต่อการเจริญและพัฒนาของเห็ดเศรษฐกิจ
เพียงพิมพ์ ชิดบุรี, ศิริพรรณ สารินทร์, ปัทม์ ปราณอมรกิจ, เพียงพิมพ์ ชิดบุรี, ศิริพรรณ สารินทร์, ปัทม์ ปราณอมรกิจ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ชื่อเรื่อง: ผลของสารประกอบช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชในน้ำหมักจากMethylobacteriuum radiotolerans ที่มีต่อการเจริญและพัฒนาของเห็ดเศรษฐกิจ
ชื่อเรื่อง (EN): Effects of plant growth promoting substances in fermentation broth from Methylobacteriuum radiotolerans on growth and development of economic mushroom.
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ผลของสารประกอบช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชในน้าหมักจาก Methylobacterium radiotolerans ที่มีต่อการเจริญและพัฒนาของเห็ดเศรษฐกิจ เพียงพิมพ์ ชิดบุรี ศิริพรรณ สารินทร์ ปัทม์ ปราณอมรกิจ อภิชาติ ชิดบุรี บทคัดย่อ ผลของสารประกอบช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตในน้าหมักจาก Meththylobacterium radiotolerans ที่มีต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเชื้อเห็ด 5 ชนิด ได้แก่ เห็ดนางรมฮังการี เห็ดนางฟ้าภูฐาน เห็ดฟาง เห็ดหูหนู และเห็ดแครง ที่เลี้ยงในอาหารPDA ที่เป็นสภาพอาหารแข็งและอาหารเหลวที่มีระดับความเข้มข้นของน้าหมักของ M. radiotolerans ที่ 0 , 1, 2 และ 4 มล/ล พบว่า การเลี้ยงในสภาพอาหารแข็งเชื้อเห็ดทุกชนิดใช้เวลา 7 วัน แต่ในอาหารเหลวใช้เวลา 8 – 10 วัน โดยเชื้อเห็ดแต่ละชนิดเจริญเติบโตไม่แตกต่างกันทั้งในสภาพอาหารแข็งและอาหารเหลว ยกเว้นในเห็ดภูฐานที่เลี้ยงบนอาหารแข็งที่มีน้าหมัก 2 มล/ล และอาหารเหลวที่มีน้าหมัก 4 มล/ล มีความหนาแน่นของเส้นใยมากกว่ากรรมวิธีอื่นอย่างมีนัยสาคัญ โดยเส้นใยของเห็ดฟาง เห็ดหูหนู เห็ดภูฐานและเห็ดแครงที่เลี้ยงอาหารแข็งที่เติมน้าหมัก 4 มล/ล มีขนาดใหญ่กว่าเส้นใยเห็ดที่ไม่ใส่น้าหมักอย่างมีนัยสาคัญโดยมีขนาดเฉลี่ย 17.92, 6.25, 6.25 และ 4.37 ?m ตามลาดับ แต่ขนาดของเส้นใยเห็ดทุกชนิดที่เพาะเลี้ยงบนอาหารเหลวไม่มีความแตกต่างกันในทุกกรรมวิธี ส่วนการเลี้ยงเชื้อเห็ดทุกชนิดในเมล็ดข้าวฟ่างที่มีความเข้มข้นของน้าหมักของ M. radiotolerans ที่ 0 , 1, และ 2 มล/ล พบว่า เปอร์เซ็นต์ผลของการเจริญเติบโตในเห็ดฟาง เห็ดฮังการี เห็ดหูหนู ในเลี้ยงในข้าวฟ่างในทุกกรรมวิธีไม่มีความแตกต่างกัน แต่ในเชื้อเห็ดแครงมีเปอร์เซ็นต์การเจริญเติบโตสูงสุดในชุดที่เลี้ยงในข้าวฟ่างที่ใส่น้าหมัก 1, และ 2 มล/ล อย่างมีนัยสาคัญโดยมีค่าเฉลี่ย 94.00 และ 88.00 % ตามลาดับ การวัดการเจริญเติบโตของดอกเห็ดที่เพาะในก้อนเห็ดที่มีความเข้มข้นของน้าหมัก ที่ 0 , 0.5, 1, 2 และ 3 มล/ล ในเห็ดฮังการี เห็ดภูฐาน เห็ดหูหนูและเห็ดแครง พบว่าน้าหนักสดและจานวนดอกเห็ดต่อช่อของเห็ดทุกชนิดทุกกรรมวิธีให้ผลไม่แตกต่างกัน แต่ความยาวของช่อดอกเห็ดฮังการีที่มีความยาวมากที่สุดเมื่อเลี้ยงในก้อนเห็ดที่มีน้าหมัก 3 มล/ล โดยมีค่าเฉลี่ย 13.48 ซม แตกต่างจากชุดกรรมวิธีอื่นอย่างมีนัยสาคัญ จากการวิเคราะห์ปริมาณโปรตีนในเห็ดฮังการีและเห็ดภูฐานมีโปรตีนอยู่ในช่วง 0.33 – 0.38 กรัมและ 0.37– 0.43 กรัมตามลาดับ โดยทุกกรรมวิธีมีปริมาณโปรตีนไม่แตกต่างกัน ค้าส้าคัญ : เห็ดเศรษฐกิจ น้าหมัก
บทคัดย่อ (EN): Effects of plant growth promoting substances in fermentation broth from Methylobacterium radiotolerans on growth and development of economic mushroom Piengpim Chidburee Siripun Sarin Pat Pranamornkith and Aphichat Chidburee Effects of plant growth promoting substances in fermentation broth from Methylobacterium radiotolerans on growth and development of five different types of mushroom, Oyster, Indian Oyster, Straw, Jew’s ear and Rain Quail mushroom, grown in PDA agar and broth medium with concentrations of 0, 1, 2 and 4 ml/l fermentation broth showed that mushrooms took 7 days for growing in agar medium. Whereas, in broth medium, mushrooms grew for 8 – 10 days. Growing mushrooms in both mediums, most types however provided a non-significant chemical composition. Indian Oyster mushroom grown in 2 ml/l agar medium and 4 ml/l broth medium have been significantly found a higher fiber density than other medium types and concentrations. A Fiber dimension of Straw, Jew’s ear, Indian Oyster and Rain Quail mushroom grown in agar medium with 4 ml/l fermentation broth added found larger than those without fermentation broth added, significantly. The average dimension of 17.92, 6.25, 6.25 and 4.37 ?m were presented, respectively. Compare to growing mushrooms in broth medium, their fiber dimension showed no difference. Growing most types of mushroom in sorghum with 0, 1, and 2 ml/l fermented broth by M. radiotolerans suggested no difference in the percentage of Straw, Oyster and Jew’s ear mushroom growth. However, the significant highest percentage of growth were introduced in sorghum with 1 and 2 ml/l fermented broth for Rain Quail mushroom. The average of growth percentage were 94.00 and 88.00 %, respectively. The growth study of Oyster, Indian Oyster, Straw, Jew’s ear and Rain Quail mushroom that were grown in mushroom cubes with a concentration of 0, 0.5, 1, 2 and 3 ml/l fermented broth by M. radiotolerans indicated no difference in their fresh weight and amount per bunch. Furthermore, the longest bunch of Oyster mushroom grown in mushroom cubes with 3 ml/l were found at 13.48 cm. This result showed a remarkable difference compare to those with other concentrations of fermented broths. The protein quantitative analysis of Oyster and Indian Oyster mushroom showed a protein amount of 0.33 – 0.38 g and 0.37– 0.43 g, respectively. Keywords ; economic mushroom, fermentation broth
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2558-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2560-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของสารประกอบช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชในน้ำหมักจากMethylobacteriuum radiotolerans ที่มีต่อการเจริญและพัฒนาของเห็ดเศรษฐกิจ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
30 กันยายน 2560
2559A17002059 ผลของสารประกอบช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชในน้ำหมักจาก Methylobacteriuum radiotolerans ที่มีต่อการเจริญและพัฒนาของเห็ดเศรษฐกิจ การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้าหมักจากแบคทีเรียที่มีสารประกอบ ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชเพื่อประยุกต์ใช้ในการเกษตร เห็ดที่รับประทานได้และที่น่าสนใจ แบบจำลองการเจริญเติบโตของพืช: ทางเลือกใหม่เพื่อช่วยงานวิจัย แบบดั้งเดิม เห็ดกลุ่มโบลีตส์ของประเทศไทย เห็ดบางชนิดในสกุล Ganoderma และสกุลใกล้เคียง ชนิดของเห็ดสกุล Lepiota และสกุลใกล้เคียงในประเทศไทย สารส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชจาก Pseudomonas แยกจากดินรอบรากพืชที่เขื่อนจุฬาภรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ความสัมพันธ์ระหว่างดิน น้ำ และพืช ผลของการเก็บรักษาไรแดงต่อการเจริญเติบโตของปลา

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก