สืบค้นงานวิจัย
กลไกการทำงานของยีน PmRab7 ต่อการเคลื่อนที่ภายในเซลล์ของไวรัสที่ก่อโรคในกุ้ง
เฉลิมพร องศ์วรโสภณ - มหาวิทยาลัยมหิดล
ชื่อเรื่อง: กลไกการทำงานของยีน PmRab7 ต่อการเคลื่อนที่ภายในเซลล์ของไวรัสที่ก่อโรคในกุ้ง
ชื่อเรื่อง (EN): Mechanism of PmRab7 in controlling intracellular trafficking of shrimp viruses
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: เฉลิมพร องศ์วรโสภณ
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: เทคในไลขี RNAi โดยการใช้อาร์เอ็นเอสายคู่ต่อยืนของ ไวรัส ได้ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายในการ ขับยั้งการเพิ่มจำนวนของไวรัส เช่น YHV, WSSV, TSV, IHHNV เป็นดัน นอกจากนี้ การไช้อาร์เอ็นเอสาขคู่ ต่อยืนของกุ้ง เช่น ขืน PmRab7 ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกับการนำเข้า และขนส่งไวรัสภายในเซลล์ก็สามารถขับยั้ง ไวรัสได้หลายชนิดตัวยกัน การทดลองนี้จึงมี วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของการใช้อาร์เอ็นเอสาย คู่ต่อยืนไวรัส เช่น ไวรัสหัวเหลืองหรือไวรัสแหลมสิงห์ ร่วมกับขืนmRab7 ในการขับยั้งการเพิ่มจำนวน ของไวรัส พบว่ การใช้อาร์เอื่นเอสาขคู่ต่อขึ้นทั้ง ชนิดร่วมกัน ให้ผลขับยั้งการเพิ่มจำนวนของไวรัสได้ ดีกว่าการใช้อาร์เอ็นเอสายคู่เพียงชนิดเคียว ผลของการขับยั้งนี้ ขังช่วยลดอัตราการดาชของกุ้งจากไวรัสหัว เหลืองได้ดีกว่อีกด้วย เพื่อศึกษากลไกการแสดงออกของ โปรตีน PmRab7 ในกุ้งที่ติดไวรัส ไดยทำการ ติดตามการแสดงออกของไปรดีน PmRab7 และ ไวรัสหัวเหลือง (3764) โดยวิธี Immunofluorescence ไปรตื่น PmRb7 มีการแสดงออกในบริเวณไซโดพลาสซึมของเซลล์ม็ดเลือดกุ้งกุลาดำ ขณะที่ไปรนของ ไวรัสหัวเหลือง (๒64) สามารถพบในบริเวณไซไตพลาสซึมของเซลล์ม็ดเลือดกุ้งกุลาดำ หลังจากฉีดไวรัส 3 ชั่ไมง เมื่อเวลาผ่านไป พบว่ามี ไปรตีน PmRab7 มีการแสดงออกในบริเวณไซไตพลาสซึมของเซลล์เม็ด เลือด ซึ่งจะเห็นมีการติดสีเข้มขึ้นหลังจากกุ้งติดไวรัสแล้ว 48 ชั่วโมง ขณะเดียวกันพบว่า ไวรัสหัวเหลืองใน เซลล์เม็ดเลือดกุ้งจะเห็นการแสดงออกในบริเวณไซไตพลาสซึม ตั้งแต่ 3 ชั่วโมงหลังจากฉีดไวรัส ปริมาณ ของไวรัสเพิ่มขึ้นตามลำดับ การนำภาพการแสดงออกของไปรตีน PmRab7 ซ้อนทับกับไปรตีน g164 ของ ไวรัส พบว่จะเห็นการทับช้อนกันที่เอื่นใดไซมส่วนดัน เวลา 20 นาที ขณะที่ไวรัสเคลื่อนที่ไปเอิ่นใดไซม ส่วนปลายที่ 40 นาที แสดงว่า ไปรตีน PmR.b7 น่าจะมีส่วนในการขนส่งไวรัสหัวเหลืองภายในเซลล์เม็ เลือดกุ้ง การขับยั้งการแสดงออกของโปรตีน PmRab7 ในกุ้งที่ติดไรัสหัวเหลือง ไดยใช้อาร์เอ็นเอสายคู่ต่อ ขืน PmRab7 พบว่ จะเห็นการแสดงออกของไปรตื่น PmRab7 (จุดสีแดง) น้อยมาก ขณะเดี่ยวกัน จะไม่พบ การแสดงออกของไวรัสหัวเหลือง (จุดสีเขียว) เลข จึงเป็นไปได้ว่าการชับยั้งไปรตีน PmRab7 มีผลต่อการ ขบส่งไวรัสหัวเหลืองไปขังเอ็น ดไซมส่วนปลาข เมื่อมีการขับยั้งการแสดงออกของยืนของไวรัสไดยใช้อาร์ เอื่นเอสาขคู่ต่อขึ้นไวรัสหัวเหลือง จะมีผลขับยั้งการเพิ่มจำนวนของไวรัส ใน 24 ชั่โมง แต่ไม่มีผลต่อ ขบวนการขนส่งไวรัส จึงสรุปได้ว่า PmRab7 มีความสำคัญต่อการขนส่งไวรัสหัวเหลืองจากเอ็นไดไซมส่วน ด้นไปยังเอ็นใดไซมส่วนปลาช และไวรัสหัวเหลืองใช้ขบวนการเอื่น ใดชัยใดซิสนี้ในการเข้าเซลล์และเพิ่ม จำนวนภายในเซลล์กุ้งกุลาดำ
บทคัดย่อ (EN): YHV causes a severe mortality in Penaeus monodon resulting in a high economic loss of shrimp culture industry. Presently, there is no efiective means to prevent or cure YHV infection in the shrimp. RNA interference (RNAi) technology using double stranded RNA (dsRNA) targeting viral genes has been extensively employed to inhibit viral replication including YHV, WSSV, TSV and IHHNV. In addition, dsRNA targeting a shrimp gene, PmRab7 that involved in the intracellular trafficking of viruses similarly gave a good preventive efiect. Therefore, the effectiveness of using a combination of dsRNA targeting YHV or LSNV genes and PmRab7 was studied. The results showed that the combination of dsRNA demonstrated higher eflicacy than the single dsRNA injection in both prevention and cure of YHV and LSNV infection in P. monodon. This result further demonstrated a more efiective means to combat a viral disease in shrimp by a combination of dsRNA targeting the virus gene and the host gene. To study the role of PmRab7 on the endosomal trafficking of YHV in shrimp, the hemocytes were cultured and subjected to indirect immunofluorescence detection using anti-PmRab7 as a late endosome marker, and anti-YHV gp64 antibodies. Colocalization study revealed that YHV was transported through early endosome within 20 min and subsequently to late endosome at 40 min. The cell morphology was shrinking at the late time course at 48 hours post YHV challenge. Suppression of PmRab7 by injection of dsRNA-PmRab7 did not affect the transport of YHV to early endosome but the exiting from early endosome was blocked. Injection of dsRNA-YHV (Pro) a viral specific gene could inhibit the viral replication at approximately 24 hours after YHV injection but did not affect the viral transport through the endosome. These data provide evidence that PmRab7 is required for the transport of YHV from early to late endosome. It supports the model of YHV trafficking via endocytosis through early and late endosome.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยมหิดล
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
กลไกการทำงานของยีน PmRab7 ต่อการเคลื่อนที่ภายในเซลล์ของไวรัสที่ก่อโรคในกุ้ง
มหาวิทยาลัยมหิดล
30 กันยายน 2556
การพัฒนาระบบ multiple shRNA expressing vector เพื่อศึกษากลไกการป้องกันโรคในกุ้ง การศึกษายีนของไวรัสตัวแดงดวงขาวและกุ้งกุลาดำที่เกี่ยวข้องกับกลไกการตายของเซลล์ การศึกษาปฏิสัมพันธ์ในกุ้งก้ามกรามและไวรัสก่อโรคในกลุ่ม nodavirus ประสิทธิภาพของสารสกัดเปลือกมังคุด (Gracinia mangostana, Linn) ในการกำจัดจุลชีพที่ก่อให้เกิดโรคในกุ้งทะเล การสร้างโปรตีน การเปลี่ยนแปลงหลังการสร้างและการประกอบเป็นอนุภาคของเชื้อไวรัสกุ้งภายในเซลล์ การวิเคราะห์การทำงานของยีนที่ใช้ในการสังเคราะห์สารเคอร์คูมินอยด์ในขมิ้นชันโดย RNA interference การศึกษาระบาดวิทยา กลไกการก่อโรค และการเรียงตัวของจีโนมของไวรัสชนิดใหม่ที่แยกได้จากกุ้งกุลาดำที่โตช้า ปฏิสัมพันธ์ของวิบริโอกับแบคเทอริโอเฟจวีเอชเอสวัน และกลไกการก่อโรคในกุ้ง ศึกษาสารคงตัวที่เหมาะสมในการเตรียมตัวอย่าง Escherichia coli ในกุ้งที่ใช้สำหรับทดสอบความสามารถระหว่างห้องปฏิบัติการ ความหลากหลายของยีนต้านทานไวรัส (Mx1) ในสุกร

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก