สืบค้นงานวิจัย
การใช้ความร้อนในการรักษาคุณภาพ และยืดอายุการวางจำหน่ายของฝรั่งแปรรูปพร้อมบริโภคพันธุ์กิมจู และพันธุ์แป้นสีทองเพื่อการส่งออก (ระยะที่ 2)
ชัยรัตน์ เตชวุฒิพร - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ชื่อเรื่อง: การใช้ความร้อนในการรักษาคุณภาพ และยืดอายุการวางจำหน่ายของฝรั่งแปรรูปพร้อมบริโภคพันธุ์กิมจู และพันธุ์แป้นสีทองเพื่อการส่งออก (ระยะที่ 2)
ชื่อเรื่อง (EN): Use of heat treatment to maintain quality and extend the shelf life of fresh-cut guava cv. Kim Joo and cv. Pansetong for exporting (Phase 2)
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ชัยรัตน์ เตชวุฒิพร
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Chairat Techavuthiporn
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ผลของการให้ความร้อนโตยวิธีการจุ่มน้ำร้อนต่อคุณภาพของฝรั่งแปรรูปพร้อมบริโภค พบว่า น้ำร้อนที่ อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส สามารถชะลอการลตลงของค่าความสว่าง (ค่ L*) ค่าสีของฝรั่ง (ค่ Hue) และปริมาณวิตามินซีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติยิ่ง นอกจากนี้ยังมีผลต่อคะแนนการยอมรับของผู้บริโภค สูงกว่าการจุ่มฝรั่งในน้ำร้อนที่อุณหภูมิ 50 และ 60 องศาเซลเซียส อย่างไรก็ตามการจุ่มน้ำร้อนที่ อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส สามารถชะลอการเพิ่มขึ้นของปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ได้ดีกว่าการจุ่มในน้ำร้อน ที่อุณหภูมิ 50 และ 40 องศาเซลเซียส อย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ เมื่อพิจารณาถึงพันธุ์ของฝรั่งระหว่าง พันธุ์กิมจูและพันธุ์แป็นสีทอง พบว่า พันธุ์กิมจูมีการตอบสนองต่อการจุ่มน้ำร้อนมากกว่าพันธุ์แป็นสีทอง ผลของการให้ความร้อนโตยวิธีการอบลมร้อนต่อคุณภาพของฝรั่งแปรรูปพร้อมบริโภค พบว่า การอบลม ร้อนที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเชียส ช่วยชะลอการลตลงของค่า L* รักษาความแน่นเนื้อและปริมาณ วิตามินชีด้ตี๋กว่าวิธีการอื่น ( สำหรับการยอมรับของผู้บริโภคพบว่าที่อุณหภูมิ 50 องศาเชลเซียส ทำให้ คะแนนการยอมรับของผู้บริโภคในต้านต้านสี กลิ่น และความกรอบสูงกว่าการอบต้วยลมร้อนที่อุณหภูมิ อื่น ๆ แต่อย่างไรก็ตามการอบด้วยลมร้อนที่อุณหภูมิ 50 และ 60 เซลเซียส ก่อให้เกิลักษณะผิดปกติ มากกว่าที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส จากการศึกษาการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์พบว่า การอบด้วยลม ร้อนในทุกวิธีการทตลองสามารถลตปริมาณสต์และราเริ่มต้นได้ การอบด้วยสมร้อนที่อุณหภูมิ 60 องศา เซลเซียส สามารถชะลอการเพิ่มจำนวนของ Lactic acid bacteria เชื้อจุลินทรีย์ทั้งหมด และ Coliforms ได้ดีที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการทตลองอื่นจากการศึกษาผลของลำตับขั้นตอนในการให้ความร้อนต่อคุณภาพและอายุการวางจำหน่ายฝรั่งแปรรูป พร้อมบริโภคพันธุ์กิมจู พบว่าการจุ่มผลฝรั่งในน้ำร้อนก่อนการแปรรูป (TM1) ช่วยชะลอการสตลงของค่า L* และปริมาณวิตามินชีได้ดีกว่าวิธีการอื่น ๆ ในขณะที่การอบผลฝรั่งต้วยสมร้อนก่อนการแปรรูป (TM2) และการอบฝรั่งก่อนและหลังการแปรรูปด้วยลมร้อน (TM6) ช่วยชะลอการลตลงของค่า Hue ความแน่นเนื้อ และการเกิลักษณะอาการผิดปกติได้ดีกว่าวิธีการอื่น ๆ จากการศึกษาการยอมรับของ ผู้บริโภคพบว่าการจุ่มฝรั่งก่อนและหลังการแปรรูปด้วยน้ำร้อน (TM5) ทำให้คะแนนการยอมรับของ ผู้บริโภคในต้านสี กลิ่น และความกรอบมากกว่าวิธีการอื่น ๆ นอกจากนี้การจุ่มผลฝรั่งในน้ำร้อนก่อนการ แปรรูป (TM1) ช่วยชะลอการเพิ่มปริมาณ Lactic acid bacteria ยีสต์และรา ไต้ดีกว่าวิธีการอื่น ๆ ในขณะที่การจุ่มฝรั่งแปรรูปพร้อมบริโภคในน้ำร้อน (TM3) ช่วยชะลอการเพิ่มจำนวนจุสินทรีย์ทั้งหมดได้ ดีกว่าวิธีการอื่น ๆ สำหรับการเปลี่ยนแปลงปริมาณ Coliforms พบว่าการอบผลฝรั่งด้วยลมร้อน (TM2) ช่วยละลอการเพิ่มปริมาณ Coliforms ได้ดีกว่าวิธีการอื่นสำหรับการทตลองในพันธุ์แป้นสีทอง การอบฝรั่งที่แปรรูปแล้วด้วยลมร้อน (TM4) ช่วยชะลอการลตลง ของค่า L* ได้ดีกว่าวิธีการอื่น ในขณะที่การจุ่มฝรั่งก่อนและหลังการแปรรูปด้วยน้ำร้อน (TM5) ช่วย ชะลอการลตลงของค่า Hue ได้ตี่กว่า และการจุ่มฝรั่งที่แปรรูปแล้วในน้ำร้อน (TM3) ช่วยรักษาความ แน่นเนื้อ และทำให้คะแนนการยอมรับของ งผู้บริโภคในต้านสี และความกรอบมากกว่าวิธีการอื่น อีกทั้ง ยังช่วยชะลอการเพิ่มปริมาณยีสต์และรา สำหรับการอบผลฝรั่งต้วยลมร้อนก่อนการแปรรูป (TM2) พบว่าช่วยชะลอกรลตลงของปริมาณตามินซี และทำให้คะแนนการยอมรับของผู้บริโภคในต้านกลิ่นสูง กว่าวิธีการอื่นๆ แต่มีผลทำให้เกิดลักษณะอาการผิตปกติมากที่สุด
บทคัดย่อ (EN): Effect of hot water treatment on quality of fresh cut guava was investigated. We found that hot water treatment at 40C signicificantly delayed L, Hue value and ascorbic acid decreasing. Moreover, this heat treatment had higher acceptance score than other treatments. However, dipping in 60C hot water delayed the growth of microorganism better than dipping in 50 and 40 C hot water with significantly difference. Hot water treatment was useful in efficiency maintaining the quality in Guava cv. Gimiuu than cv. Panseetong. Effect of hot air treatments on quality of fresh cut guava was investigated. We found that hot air doy treatment at 60"C signicificantly delayed L value, firmness and ascorbic acid decreasing better than other treatments. The highest acceptance score including color, flavor and crispness was observed in the 50C hot air treatment. However, the heat damage was found in the 50C and 60"C hot air treatments. Treatments using 40, 50 and 60*c hot air reduced the initial yeast and mold. A 60"C hot air treatment delayed the growth of Lactic acid bacteria, total microorganism and coli form better than other treatments.Effect of heat treatment procedure on quality and shelf life of fresh cut guava was investigated. The results showed that dipping hot water before processing (TM1) delayed L* value and ascorbic acid decreasing better than other treatments. Hot air treatment before processing (TM2), hot air treatment before and after processing (TM6) delayed Hue, firmness decreasing and heat damage better than other treatments. The highest acceptance score of color, flavor and crispness was observed in TM1. This TM1 treatment reduced Lactic acid bacteria growth, yeast and mold better than other treatments. Dipping fresh cut guava in hot water treatment (TM3) significant delayed the growth of total microorganism. TM2 treatment had less Coli forms than other treatments.In case of Guava cv. Pansetons, the results showed that hot air dry treatment after processing (TM4) delayed L* value decreasing better than other treatments. Dipping hot water before and after processing (TM5) delayed Hue angle value changing better than other treatments. Whereas, dipping hot water after processing (TM3) maintained firmness and had higher acceptance scores of calor and crispness than other treatments. This TM3 treatment also inhibited the growth of Yeast & Mold. We also found that hot air dry treatment before processing (TM2) retained the ascorbic acid content and had higher acceptance score of odor. However, this TM2 treatment had the most effect on heat damage or disorder of cut quava.
ชื่อแหล่งทุน: เงินงบประมาณแผ่นดิน
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 421,200.00
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2551-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2553
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยประยุกต์
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การใช้ความร้อนในการรักษาคุณภาพ และยืดอายุการวางจำหน่ายของฝรั่งแปรรูปพร้อมบริโภคพันธุ์กิมจู และพันธุ์แป้นสีทองเพื่อการส่งออก (ระยะที่ 2)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
30 กันยายน 2553
สี การรักษาคุณภาพของลองกองพร้อมบริโภคด้วยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว (ระยะที่ 2) การคัดเลือกผลมะม่วงแก้วเพื่อการส่งออกและการแปรรูป การรักษาคุณภาพของลองกองพร้อมบริโภคด้วยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ผลของการบรรจุแบบดัดแปลงสภาพบรรยากาศสมดุลต่ออายุการเก็บรักษาหน่อไม้หวานพันธุ์หม่าจูแปรรูปพร้อมบริโภค ผลของ 1-methylcyclopropene และรูปแบบการตัดแต่ง ต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษามะละกอสุกพันธุ์เรดมาลาดอลและพันธุ์แขกดำ อายุที่เหมาะสมของแม่พันธุ์ในการเพาะพันธุ์ปลาชะโอน การเปลี่ยนแปลงคุณภาพของส้มโอพันธุ์ทองดีที่ระยะเวลาหลังการเก็บเกี่ยวต่างกัน เปรียบเทียบพันธุ์หม่อนลูกผสมชุดที่ 2 ในสถานที่ต่างๆ ระยะเวลาเก็บเกี่ยวและสารเคลือบผิวที่รับประทานได้ต่อคุณภาพและอายุการเก็บรักษาของเงาะนอกฤดูกาลพันธุ์โรงเรียนใน จ. นครศรีธรรมราช

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก