สืบค้นงานวิจัย
การรีไซเคิลน้ำเสียจากการแปรรูปยางพาราในชุมชนด้วยระบบกลั่นพลังงานแสงอาทิตย์
สิรวัลภ์ เรืองช่วย ตู้ประกาย, เสรีย์ ตู้ประกาย, โกวิท สุวรรณหงษ์ - มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
ชื่อเรื่อง: การรีไซเคิลน้ำเสียจากการแปรรูปยางพาราในชุมชนด้วยระบบกลั่นพลังงานแสงอาทิตย์
ชื่อเรื่อง (EN): Recycle the wastewater of rubber transformation in municipal using solar distillation system
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การศึกษานี มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสมบัติของน ้าเสียจากกระบวนการแปรรูปยางพารา ในชุมชน 2) ศึกษาศักยภาพของวัสดุส้าหรับสร้างระบบกลั่นพลังงานแสงอาทิตย์ 3) ออกแบบและ สร้างระบบกลั่นพลังงานแสงอาทิตย์4) ศึกษาประสิทธิภาพการบ้าบัดน ้าเสียจากกระบวนการแปรรูป ยางพาราในชุมชนด้วยระบบกลั่นพลังงานแสงอาทิตย์ และ 5) ศึกษาสมบัติของสารละลายที่ได้จาก ระบบกลั่นพลังงานแสงอาทิตย์โดยใช้ตัวอย่างน ้าเสียก่อนเข้าบ่อพักน ้าเสีย และน ้าเสียในบ่อพักน ้าเสีย จากการแปรรูปยางพาราของเกษตร อ้าเภอเมือง จังหวัดระยอง ผลการศึกษาพบว่า น ้าเสียจาก กระบวนการแปรรูปยางพารา จากบ่อพักน ้าเสีย มีกลิ่นเหม็นของกรด และกลิ่นคล้ายยางเน่า มีสีเทา ขุ่น ค่า pH เท่ากับ 5.28 ค่า SS เท่ากับ 122 มก./ล. ค่า BOD เท่ากับ 7090 มก./ล. ส่วนน ้าเสียก่อน เข้าบ่อพักน ้าเสียมีกลิ่นเหม็นของกรด มีสีขาวขุ่น ค่า pH เท่ากับ 4.88, ค่า SS เท่ากับ 66 มก./ล. ค่า BOD เท่ากับ 5109 มก./ล. ระบบกลั่นที่ออกแบบและสร้างเป็นระบบขนาดเล็ก สามารถกลั่นได้ ในช่วง 8.75-36 มล./วัน สามารถระเหยน ้าเสีย 300 มล. ได้หมดใช้เวลา 7 วัน ประสิทธิภาพการกลั่น ของเครื่องกลั่นพลังงานแสงอาทิตย์ที่ไม่มีตัวดูดซับความร้อนอยู่ในช่วง 50.5- 56.7 % ส่วนเครื่องกลั่น พลังงานแสงอาทิตย์ที่มีหินด้าตัวดูดซับความร้อนอยู่ในช่วง 53.0-57.5 % อุณหภูมิทั ง 4 ต้าแหน่งของ ระบบกลั่นทุกเครื่อง พบว่าอุณหภูมิบริเวณใต้น ้ามีค่าสูงที่สุด เฉลี่ย 44.43 องศาเซลเซียส ส่วน อุณหภูมิบรรยากาศมีค่าต่้าที่สุด เฉลี่ย 33.87 องศาเซลเซียส ระบบกลั่นที่ไม่มีหินด้าเป็นวัสดุดูดซับ ความร้อนจากดวงอาทิตย์มีอุณหภูมิในระบบกลั่นต่้ากว่าระบบกลั่นที่มีหินด้าเป็นวัสดุดูดซับความร้อน จากดวงอาทิตย์เล็กน้อย แต่ให้ปริมาณสารละลาย และมีประสิทธิภาพในการระเหยน ้าเสียไม่แตกต่าง กันมากนัก สารละลายจากเครื่องกลั่นมีกลิ่นฉุนน้อยกว่า และมีสีใสกว่าน ้าเสีย ค่า pH อยู่ในช่วง 4.22 - 5.26, ค่าของแข็งแขวนลอยอยู่ในช่วง 51-60 มก./ล. และมีค่า BOD อยู่ในช่วง 1940-2195 มก./ล. ซึ่งเกินค่ามาตรฐานควบคุมการระบายน ้าทิ งจากระบบบ้าบัดน ้าเสียรวมของชุมชน ประสิทธิภาพในการก้าจัดของแข็งแขวนลอย และ BOD อยู่ในช่วง 12.12-69.87 % และ 57.37-72.57 % ตามล้าดับ สารละลายที่ได้จากเครื่องกลั่นท้าให้น ้ายางสดแข็งตัวได้โดยใช้เวลา 45 นาที นานกว่าการกรดซัลฟูริก และกรดฟอร์มิก ประมาณ 15 นาที
บทคัดย่อ (EN): The purpose of this research were 1) studies characterization of wastewater from rubber processing of community 2) study potential of materials for solar distillation system 3) design and build a solar distillation system 4) study the removal efficiency of the solar distillation system and 5) study characterization of solution from the solar distillation system. Wastewater sample were effluent before manholes and in manholes at Maung district, Rayong province. From the study, found that, effluents before manhole were smell of acid, smells like rotten rubber and turbidity gray color. The pH, SS and BOD of effluents before manhole were 5.28, 122 mg/l and 7090 mg/l, respectively. The effluents in manhole were smell of acid and turbidity white color. The pH, SS and BOD of effluents in manhole were 4.88, 66 mg/l and 5109 mg/l, respectively. Designed and built a solar distillation system was lab scale; it distilled water 8.75-36 ml/d. It evaporated 300 ml wastewater within for 7 days. Distillation efficiency of non-heat adsorbent solar distillation system was 50.5- 56.7%. Distillation efficiency of heat adsorbent solar distillation system was 53.0-57.5%. All of solar distillation system, the highest temperature was 44.43?c of underwater point. The lowest temperature was 33.87?c of ambient atmosphere. The temperature of non-heat adsorbent solar distillation system was lower than heat adsorbent solar distillation system, but no difference in volume of solution and distillation efficiency. Solution has odor less than wastewater and more clear color. The pH, SS and BOD of solution were 4.22-5.26, 51-60 mg/l and 1940-2195 mg/l, respectively, which not meet the municipal wastewater standard. The SS and BOD removal efficiency of solar distillation system were 12.12-69.87% and 57.37-72.57%, respectively. Solution made latex to coag
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การรีไซเคิลน้ำเสียจากการแปรรูปยางพาราในชุมชนด้วยระบบกลั่นพลังงานแสงอาทิตย์
มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
30 กันยายน 2556
การรีไซเคิลน้ำเสียจากการแปรรูปยางพาราในชุมชน ด้วยระบบกลั่นพลังงานแสงอาทิตย์ การพัฒนาระบบแสงสว่างในสวนยางพาราโดยใช้ไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ระบบอบแห้งแผ่นยางพารา ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ โดยมีก๊าซหุงต้ม เป็นพลังงานเสริม ห้องอบและตากแห้งปุ๋ยอินทรีย์พลังงานแสงอาทิตย์จากโพลิเมอร์และโลหะแผ่นเพื่อเกษตรกรสวนยางพารา การกำจัดสีย้อมในน้ำเสียจากโรงงานย้อมผ้า โครงการพัฒนาดอยตุงด้วยไม้ยางพาราและถ่านไม้ยางพารา ระบบสูบน้ำด้วยพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการบริหารจัดการน้ำในการทำเกษตรแบบผสมผสาน การพัฒนาระบบผลิตน้ำดื่มและไฟฟ้าอเนกประสงค์แบบผสมผสานระหว่างพลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับพลังงานลมแบบพกพา การพัฒนาระบบสะสมพลังงานจากระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อบริหารจัดการการใช้พลังงานของประเทศไทย โครงการฝึกอบรมการผลิตกล้ายางพาราและการปลูกยางพาราแบบมืออาชีพ ระบบอัดประจุแบตเตอรี่ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ที่จุดจ่ายกำลังไฟฟ้าสูงสุดสำหรับระบบให้น้ำลำไยแบบอัตโนมัติ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก