สืบค้นงานวิจัย
สรีรวิทยาการเจริญเติบโตและผลผลิตของทานตะวันลูกผสม
เฉลิมพล แซมเพชร - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง: สรีรวิทยาการเจริญเติบโตและผลผลิตของทานตะวันลูกผสม
ชื่อเรื่อง (EN): CROPPHYSIOLOGICAL STUDIES ON GROWTH AND YIELDS OF SUNFLOWER
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: เฉลิมพล แซมเพชร
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): C. Sampet
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาทดลองเปรียบเทียบผลผลิตทานตะวันลูกผสม 3. พันธุคอ HySun 33, HY 772 และ AS 502 ภายใต้ระยะปลูก 3 ระยะคือ 25x50 ซม, 50x50 ซม. และ 100x50 ซม. ได้ดำเนินการที่คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในระหว่าง เดือนธันวาคม 2528 มีนาคม 2529 วางแผนการทดลองแบบ Split-plot โดยให้พันธุ์เป็น main-plot และระยะปลูก sub-plot ผลผลิตของทานตะวันทั้ง 3 พันธุ์ที่ระยะปลูกเดียวกันมีความแตกต่างกันไม่ถึงระดับมีนัยสำคัญ ทุกพันธุ์ให้ผลผลิตเพิ่มขึ้นเมื่อความหนาแน่นของต้นปลูกเพิ่มขึ้น (ระยะปลูกลดลง) ผลผลิตเฉลี่ยสูงสุดของทั้ง 3 พันธุ์อยู่ระหว่าง 2323-2563 กก / เฮคแตร์ การเพิ่มความหนาแน่นของต้นปลูกมีผลทำให้องค์ประกอบของผลผลิตอันประกอบด้วยขนาดของจานดอก จำนวนเมล็ดต่อดอก และขนาดของเมล็ดลดลง พันธ์ AS 502 มีขนาดของเมล็ดเล็กกว่าพันธ์อื่น ส่วนองค์ ประกอบผลผลิตอื่น ๆ ไม่มีความแตกต่างกันเด่นชัดในระหว่างพันธุ์ เปอร์เซนต์น้ำมันในเมล็ดมีค่าเฉลี่ย 39.5-49.0% โดยพันธุ์ Hysun 33 ให้ค่าเฉลี่ยสูงสุด และพันธุ์ AS 502 ให้ค่าเฉลี่ยต่ำสุด ในทางตรงกันข้ามพันธุ์ AS 502 ให้เปอร์เซ็นต์โปรตีน ในเมล็ดสูงกว่าพันธุ์อื่นคือ 23.3% ในขณะที่ Hysun 33 ให้ค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ 20.6% ผลผลิตของทั้ง 3 พันธ์มีส่วนสัมพันธ์กับดัชนีพื้นที่ใบกล่าวคือ ผลผลิตเพิ่มขึ้นตามดัชนีใบที่เพิ่มขึ้น ซึ่งขึ้นอยู่กับระยะปลูก ดัชนีพื้นที่ใบ สูงสุดของพันธุทั้งสามจากการทดลองนี้อยู่ระหว่าง 2.94-3.50 รายละเอียดต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเจริญได้รายงานไว้ในการทดลอง
บทคัดย่อ (EN): A investigation in to the comparative productivity of three hybrids of sunflower, namely Hysun 33, HV 772 and AS 502 at three spacings, 25 x 50 cm, 50 x 50 cm and 100x50 cm, was carried out at the Fac. of Agriculture, Chiang- Mai University during November 1986-March 1987. The experimental design was a split-plot. The hybrids were used as main-plot and plant spacings as sub-plot. There was no significant difference in seed yields due to the hybrids. The seed yields from all hybrids significantly increased as plart density increased. The dry seed yields of 1944-2510 kg/ha (variation due to plant densities) were observed from Hysun 33, while HV 772 and AS 502 yielded 1998-2563 kg/ha and 1593-2325 kg/ha respectively. Increasing plant densities caused a decrcase in head diameter, the number of seed per head and seed weight. There was no significant difference in these yield components among the hybrids, except that the cultivar AS 502 gave a smaller seed than the other two. The highest seed oil content 49.0 % was observed from Hysun 33 compared to 43.1 % and 39.5 % from HV 772 and AS 502 respectively. However AS 502 gave the highest seed protein content of 23.3% compared to 21.1 % for HV 772 and 20.6 % for Hysun 33. The relationship between LAI and growth are recorded in this report.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2530
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2531
เอกสารแนบ: https://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/247894/169597
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
สรีรวิทยาการเจริญเติบโตและผลผลิตของทานตะวันลูกผสม
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2531
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
ผลของสาร Trinexapac-ethyl สารเร่งการสุกแก่ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตน้ำตาลของข้าวฟ่างหวาน ผลของการให้น้ำชลประทานต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของยางพารา (ปีที่ 1) ผลของปุ๋ยหมักเติมอากาศต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของดาวเรือง ผลของการให้น้ำชลประทานต่อการเจริญเติบโต ผลผลิต และคุณภาพผลผลิตของปาล์มน้ำมันในจังหวัดเพชรบุรี ผลของการให้น้ำชลประทานต่อการเจริญเติบโต ผลผลิต และคุณภาพผลผลิตของปาล์มน้ำมันในจังหวัดเพชรบุรี ปีที่ 2 ผลของไคโตซานฉายรังสีต่อการเจริญเติบโต การให้ผลผลิต และการต้านทานโรคในข้าว ผลของการให้น้ำชลประทานเพิ่มเติมต่อ การเจริญเติบโต ผลผลิต และคุณภาพผลผลิตของปาล์มน้ำมันในช่วงฤดูแล้ง ปีที่ 1 ผลของปริมาณน้ำชลประทานที่มีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักคาวตอง (Houttuynia cordata Thunb.) ผลของสภาวะน้ำท่วมขังที่มีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของพืชสมุนไพรผักคาวตอง ประมาณการให้น้ำชลประทานที่จำเป็นสำหรับการเจริญเติบโตและผลผลิตที่เหมาะสมของหญ้าปักกิ่ง

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก