สืบค้นงานวิจัย
การรวบรวมและจำแนกสายพันธุ์ของเชื้อเห็ดโคนน้อยด้วยลายพิมพ์ดีเอ็นเอ
ปริญญา จันทรศรี, นิตยา บุญทิม, สุภัค มหัทธนพรรค - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง: การรวบรวมและจำแนกสายพันธุ์ของเชื้อเห็ดโคนน้อยด้วยลายพิมพ์ดีเอ็นเอ
ชื่อเรื่อง (EN): Collection and Identification of Coprinus Mushroom using DNA fingerprinting
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: จากการศึกษาความแตกต?างของสายพันธุ?เห็ดโคนน?อยหรือเห็ดถั่ว (Coprinus spp.) ที่ รวบรวมได?จากตลาดชุมชนในเขตภาคเหนือตอนบนในจังหวัดเชียงใหม? ลําพูน ลําปาง แพร? และน?าน รวมทั้งสิ้นจํานวน 49 ตัวอย?าง ซึ่งการจัดแบ?งกลุ?มสายพันธุ?เป?นไปตามลักษณะ สัณฐานวิทยา ที่จัดกลุ?มเป?น 6 สายพันธุ? คือ 2A , 2B, Prao, B5 , K3 และ K3.16 จากการ วิเคราะห?ด?วยเทคนิคอาร?เอพีดี (High annealing temperature-Random amplification polymorphic DNA ; HAT-RAPD) โดยการสกัดดีเอ็นเอจากเส?นใยของเห็ดโคนน?อยและนําไป วิเคราะห?ลายพิมพ?ดีเอ็นเอ โดยใช?ไพรเมอร?แบบสุ?ม (random primer) จํานวน 72 ไพรเมอร? พบว?า มีไพรเมอร?ทั้งหมด 31 ไพรเมอร? ที่สามารถทําให?เกิดแถบดีเอ็นเอขึ้นได?ในทุกตัวอย?าง และมีไพรเมอร?จํานวน 27 ไพรเมอร? ที่ทําให?เกิดแถบดีเอ็นเอที่แสดงความแตกต?างระหว?างลาย พิมพ?ดีเอ็นเอ (polymorphic band) ของเห็ดโคนน?อยในตัวอย?างต?างชนิดกัน โดยมีไพรเมอร?ที่ให? จํานวนแถบ polymorphic จํานวน 5 แถบขึ้นไปทั้งหมด 7 ไพรเมอร? คือ OPAA-03, OPAA-10, OPAJ-05, OPL-07, OPAO-18, OPAH-10 และ OPU-05 โดยไพรเมอร? OPAO-18 แสดง เปอร?เซ็นต?ของแถบดีเอ็นเอที่แตกต?างมากที่สุดคือ 8.8% polymorphism ข?อมูลลายพิมพ?ดีเอ็น เอถูกไปวิเคราะห?ความสัมพันธ?ทางพันธุกรรมด?วยการใช? Cluster analysis โดยใช?โปรแกรม สําเร็จรูป เลือกวิธีจัดกลุ?มแบบ UPGMA ซึ่งเป?นวิธีประยุกต?จาก Garcia-Vallveet al.,1999 เพื่อ คํานวณค?าดัชนีความเหมือนและสร?างแผนภูมิความสัมพัน ธ? พบว?าค?าดัชนีความเหมือน (similarity matrix) และแผนภูมิความสัมพันธ? (dendrogram) มีค?าดัชนีความเหมือนอยู?ระหว?าง 0.217-1.000 และมีค?า cophenetic correlation (r) เท?ากับ 0.99 ซึ่งสอดคล?องกันทั้ง 7 ไพรเมอร? เมื่อพิจารณาที่ค?าสัมประสิทธ?ความเหมือนระหว?าง 0.55 ขึ้นไป พบว?าสามารถแบ?งเห็ดโคน น?อยออกได?เป?น 4 กลุ?ม คือกลุ?ม 1 ได?แก? เห็ดโคนน?อยสายพันธุ? K3 กับ เห็ดโคนน?อยสายพันธุ? K3.16 กลุ?มที่ 2 ได?แก? เห็ดโคนน?อยสายพันธุ? Prao กับ เห็ดโคนน?อยสายพันธุ? B5 กลุ?มที่ 3 ได?แก? เห็ดโคนน?อยสายพันธุ? 2A และ กลุ?มที่ 4 ได?แก? เห็ดโคนน?อยสายพันธุ? 2B คําสําคัญ: เห็ดโคนน?อย, ลายพิมพ?ดีเอ็นเอ, HAT-RAPD
บทคัดย่อ (EN): Strains classification of Hed Khone Noi mushroom, Coprinus spp., selected from 49 samples which collected from the community markets in northern area in Chiang Mai, Lamphun, Lampang, Prae and Nan, were based on morphological characteristics and classified into 6 strains ; 2A ,2B, Prao, B5 , K3 and K3.16. The genetic diversity were evaluated by using HAT-RAPD (High annealing temperature- Random amplification polymorphic DNA) technique. Genomic DNA was extracted from mycelia of mushroom and RAPD analysis was performed using 72 random primers. It was found that 27 out of 31 primers produced polymorphic bands. Only 7 primers: OPAA-03, OPAA-10, OPAJ-05, OPL-07, OPAO-18, OPAH-10 and OPU-05 gave identical polymorphic band. Moreover, the primer OPAO-18 was presented the highest percentage of polymorphism (8.8 %).The genetic relationship and cluster analysis was generated by Unweighted Pair Group Method (UPGMA) which modified from Garcia-Vallve et al., 1999. The result showed that the values of similarity coefficient were ranged from 0.217-1.000, cophenetic correlation (r = 0.99) and the fingerprint from all primers that useful for distinguishing the strain of Hed Khone Noi clustered into 4 groups: group1 = strain K3 and K 3.16; group 2 = strain Prao and strain B5; group 3 = stain 2A ; group 4 = strain 2B at the genetic similarity index of these strains range from ? 0.55. Keywords: Coprinus Mushroom or Hed Khone Noi, DNA fingerprinting, HAT-RAPD
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2556-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2557-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การรวบรวมและจำแนกสายพันธุ์ของเชื้อเห็ดโคนน้อยด้วยลายพิมพ์ดีเอ็นเอ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
30 กันยายน 2557
เห็ดที่รับประทานได้และที่น่าสนใจ เห็ดกลุ่มโบลีตส์ของประเทศไทย เห็ดบางชนิดในสกุล Ganoderma และสกุลใกล้เคียง ชนิดของเห็ดสกุล Lepiota และสกุลใกล้เคียงในประเทศไทย การประยุกต์ใช้ลายพิมพ์ดีเอ็นเอเพื่อจำแนกสายพันธุ์กล้วยน้ำว้า การศึกษาความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของตาลโตนด โดยใช้ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ. การจำแนกสายพันธุ์และความต้านทานต่อโรค Streptococcosis ของปลานิล (Oreochromis niloticus Linnaeus) การตรวจลายพิมพ์ดีเอ็นเอเพื่อรองรับการขึ้นทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาของข้าวก่ำพะเยา การศึกษาลายพิมพ์ดีเอ็นเอของพืชสมุนไพรในป่าพรุ จำปีสิรินธรในประเทศไทย การจำแนกชนิด พันธุ์ สายต้นของทุเรียน (Durio spp.) ด้วยเทคนิคดีเอนเอ . Amplification Fingerprinting (DAF)

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก