สืบค้นงานวิจัย
การตรวจสอบความแปรปรวนทางพันธุกรรมของต้นกล้าที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อใบอ่อนของปาล์มน้ำมัน
ธนวดี พรหมจันทร์, อาสลัน หิเล, สมปอง เตชะโต - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง: การตรวจสอบความแปรปรวนทางพันธุกรรมของต้นกล้าที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อใบอ่อนของปาล์มน้ำมัน
ชื่อเรื่อง (EN): Genetic Variation Analysis of Oil Palm Plantlet from Young Leaf Tissue Culture
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ:
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN):
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การตรวจสอบความแปรปรวนของต้นกล้าปาล์มน้ำมัน (Elaeis guineensis Jacq.) ที่ชักนำจากการเพาะเลี้ยงในหลอดทดลอง โดยใช้เทคนิคไอโซไซม์ พบว่า อัตราส่วนของชิ้นส่วนพืชต่อบัฟเฟอร์สกัดที่เหมาะสมสำหรับสกัดเอนไซม์จากใบของต้นกล้าปาล์มน้ำมันคือ 1:5 ระบบเอนไซม์เอสเทอเรส เป็นระบบเอนไซม์ที่เหมาะสมที่สุดในการทดสอบ ความสม่ำเสมอของต้นกล้าปาล์มน้ำมัน โดยสามารถย้อมติดสีเอนไซม์ชัดเจนและได้แถบเอนไซม์สูงสุด 5 แถบ รูปแบบของ ไอโซไซม์ดังกล่าวไม่มีความแตกต่างกัน ส่วนการตรวจสอบด้วยเทคนิค RAPD โดยใช้ไพรเมอร์ OPAB-09 และ OPAB-01 ให้ความสม่ำเสมอของแถบดีเอ็นเอสูง ซึ่งแถบที่ได้มีลักษณะเป็น monomorphism จึงสามารถใช้ในการตรวจสอบความแปรปรวนของต้นกล้าทั้งในและนอกหลอดทดลอง ดังนั้น การขยายพันธุ์ปาล์มน้ำมันด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงใบอ่อนจากต้น  ที่ให้ผลผลิตดี สามารถผลิตต้นกล้าปาล์มน้ำมันที่มีความสม่ำเสมอสูง
บทคัดย่อ (EN): Detection of genetic variation in oil palm plantlets cultured from young leaf tissue by isozyme technique revealed that esterase-based system gave the best result. The ratio to leaf tissues and extraction buffer at 1:5 was proved to give the best resolution of enzyme patterns. The esterase-based system gave 5 clearly uniform bands of the regenerants. The RAPD technique using OPAB-09 and OPAB-01 also gave uniformity and monomorphism of DNA patterns. The technique could be used to detect both in intro and ex vitro plantlet variation. In conclusion, propagation of oil palm ortet through culturing of young leaf gave uniformity of plantlets.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2552
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การตรวจสอบความแปรปรวนทางพันธุกรรมของต้นกล้าที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อใบอ่อนของปาล์มน้ำมัน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2552
เอกสารแนบ 1
การขยายพันธุ์ของต้นแม่พันธุ์และพ่อพันธุ์ปาล์มน้ำมันจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เพื่อการผลิตเมล็ดพันธุ์ปาล์มน้ำมันลูกผสมเทอเนอร่า (clonal seeds) ในอนาคต เปรียบเทียบการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของปาล์มน้ำมันที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 6 สายพันธุ์ ในช่วงอายุปีที่ 3 – 4 ปี ประสิทธิภาพของไคโตซานต่อการควบคุมโรคใบจุดของต้นกล้าปาล์มน้ำมัน การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจากส่วนต่าง ๆ ของมะเขือเทศ ปาล์มน้ำมัน พืชเศรษฐกิจของโลก การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อใบอ่อน และปลายยอดโมกพวงในสภาพปลอดเชื้อ การปรับปรุงผลผลิตปาล์มน้ำมันในจังหวัดนครศรีธรรมราช การวิเคราะห์เปรียบเทียบความแปรปรวนทางพันธุกรรมโดยใช้เครื่องหมายพันธุกรรมอัลโลไซม์ระหว่างประชากรกุ้งก้ามกรามที่เกิดจากรรบการผสมข้าม 3 สายสายพันธุ์ การเจริญเติบโต และผลผลิตปาล์มน้ำมันจากการจัดการดินด้วยปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้ป่าของประเทศไทยที่ใกล้จะสูญพันธ์ เพื่อการอนุรักษ์พันธุกรรม

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก