สืบค้นงานวิจัย
การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของการปลูกปาล์มน้ำมันในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด
ทองเติม อาภาอุทัยพงษ์ - กรมพัฒนาที่ดิน
ชื่อเรื่อง: การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของการปลูกปาล์มน้ำมันในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ทองเติม อาภาอุทัยพงษ์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ปัจจุบันความต้องการใช้นำมันปาล์มภายในประเทศสำหรับใช้เป็นสารตั้งต้นในอุตสาหรรมอาหารอุตสาหรรมเครื่องสำอางและอื่น ๆ คาดว่าจะเพิ่มขึ้นกว่าล้านตันต่อปีการบริโภคภายในประเทศจะเพิ่มขึ้นทุกปีประมาณร้อยละต่อปีในขณะที่การผลิตเพิ่มไม่เป็นไปตามสัดส่วนซึ่งอาจทำให้ขาดแคลนวัตุดิในอนาคตจึงจำเป็นอย่างยิ่งต้องหาแนวทางในการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิตเดยการเพิ่มพื้นที่ปลูกและเพิ่มผลผลิตต่อไร่ให้มากกว่าตันต่อไร่ซึ่งปาล์มนำมันเป็นพืชที่มีฌอกาสและมีศักยภาพสูงมากในการจะแก้ปัญหาเศรษฐกิจเนื่องจากเป็นพืชอันดับที่มีอายุการให้ผลผลิตยาวนาน
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2547-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2552-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมพัฒนาที่ดิน
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การวิเคราะห์ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของการปลูกปาล์มน้ำมันในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด
กรมพัฒนาที่ดิน
30 กันยายน 2552
การพัฒนาพื้นที่ดินเปรี้ยวจัดเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพปาล์มน้ำมันอย่างยั่งยืน การพัฒนาพื้นที่ดินเปรี้ยวจัดกลุ่มชุดดินที่ 2 เพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพปาล์มน้ำมัน จังหวัดชลบุรี ผลของปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงสูตรไนโตรเจน ฟอสฟอรัส ต่อการเพิ่มคุณภาพผลผลิตปาล์มน้ำมันในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด สถานะของธาตุอาหารในใบปาล์มน้ำมันที่ปลูกในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัดจังหวัดนราธิวาส การเพิ่มประสิทธิภาพของปุ๋ยหินฟอสเฟตในดินเปรี้ยวเพื่อปลูกปาล์มน้ำมัน การศึกษาแนวทางการจัดตั้งโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มเพื่อสร้างสมดุลระหว่างพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันและโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม ความคาดหวังของเกษตรกรต่อโครงการปลูกปาล์มน้ำมัน ของสหกรณ์ปาล์มน้ำมันล้านนา จำกัด จังหวัดเชียงราย การวิเคราะห์ความคุ้มทุนทางเศรษฐกิจและการประเมินการใช้มาตรฐานคุณภาพของอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมัน การวิเคราะห์ความคุ้มทุนทางเศรษฐกิจและการประเมินการใช้มาตรฐานคุณภาพของอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมัน การประเมินพื้นที่ดินซ้อนด้วยระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์และแบบจำลองสำหรับพืชเศรษฐกิจ : ข้าว มันสำปะหลัง อ้อย ยางพารา และปาล์มน้ำมัน

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก