สืบค้นงานวิจัย
การเพาะและอนุบาลปลาดุกลำพันในสภาพน้ำพรุ
สมาน บือราเฮง - กรมประมง, กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
ชื่อเรื่อง: การเพาะและอนุบาลปลาดุกลำพันในสภาพน้ำพรุ
ชื่อเรื่อง (EN): Breeding and Nursing of Nieuhol
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สมาน บือราเฮง
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การศึกษาการเพาะพันธุ์และอนุบาลปลาดุกลำพัน ดำเนินการที่สถานีประมงน้ำจืดจังหวัดนราธิวาสระหว่างเดือนตุลาคม 2548 ถึงเดือนกันยายน 2549 โดยรวบรวมพ่อแม่พันธุ์จากพรุ โต๊ะแดง ฉีดฮอร์ โมนกระตุ้นให้ปลาตกไข่ด้วย buserelin accetate ในอัตราความเข้มข้นต่างกัน แบ่งการทดลองออกเป็น 5 ชุดการทดลอง ชุดการ 2 3 และ 4 ฉีดฮอร์โมนสังเคราะห์ buserelin acetatc อัตรา 5+10, 5+15, 10+20 และ 10+30 กิโลกรัม ร่วมกับยาเสริมฤทธิ์ domperidone 5 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม โดยการฉีดครั้งที่ 2 ห่างจากการฉีดครั้งแรก 6 ชั่วโมง ชุดควบคุมฉีดด้วยน้ำกลั่น ผลการทดลองพบว่า แม่ปลาที่ฉีดฮอร์โมนกระตุ้น ตกไข่ทุกตัวชุดควบคุมไม่ตกไข่ มีอัตราการปฏิสนธิเฉลี่ย เท่ากับ 65.88±4.66, 71.78±3,99, 7142±8.60 และเปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ซึ่งแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) อัตราการฟักเฉลี่ยเท่ากับ 15.54±3.10, 18.95±2.88 และ 21.76±6.88 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ซึ่งที่อัตราความเข้มข้น 5+10 ไมโครกรัม ความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) กับความเข้มข้น 10+20 และ 10+30 ไมโครกรัม มีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) กับความเข้มข้น 5+15 ไมโครกรัมต่การชดฉลี่ยของถูกปลาอาขุ 7 วัน ท่กับ 12.19±2.61, 16.74±2.25 18.93±6.07และ 14.84±6.15 เปอร์เซ็นต์ ความแตกต่างอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ไข่ปลาดุกคำพันเป็นไข่จมคิด มีสีน้ำตาลอมแดงขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย 2.01 ±0.05 มิลลิเมตร ลูกปลาฟักออกเป็นตัวภายในเวลา 28 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิน้ำ 24 -มีการพัฒนาเหมือนตัวเต็มวัยเมื่ออายุ 10 วัน เมื่อนำลูกปลาอายุ 30 วันมาอนุบาลที่ความหนาแน่น1,500 ตัวต่อตารางเมตร เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ พบว่า มีน้ำหนักเฉลี่ยเท่ากับ 1.35±0.87,0.84±0.77 กรัม ตามลำดับ มีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ทุกชุดการ เฉลี่ยเท่ากับ 5.34±1.19, 4.44±1.06 และ 4.10±1.28 เซนติเมตร ตามลำดับ ซึ่งที่ความหนาแน่นตารางเมตร ความยาวเฉลี่ยแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) กับลูกปลาที่อนุบาลด้วยความหนาแน่น1,000 และ 1,500 ตัวต่อตารางเมตร ส่วนอัตรารอดเฉลี่ยมีค่าเท่ากับ17.33±2.08, 16.16±1.04 และเปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ซึ่งมีความเตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิดิ (p>0.05)
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2551
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551
เอกสารแนบ: http://inlandfisheries.go.th/research/details.php?id=226
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเพาะและอนุบาลปลาดุกลำพันในสภาพน้ำพรุ
กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
2551
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
เอกสารแนบ 3
การเพาะและอนุบาลปลาดุกเนื้อเลน การศึกษาอาหารที่ใช้ในการอนุบาลลูกปลาดุกลำพัน (Clarias nieuhofii) ระยะแรกฟักออกจากไข่ และระยะปลานิ้ว ผลของคาร์โบไฮเดรตจากแหล่งต่างๆ ต่อการเจริญเติบโต อัตราแลกเนื้อ ประสิทธิภาพการใช้อาหาร และการรอดตายของปลาดุกลำพัน (Clarias nieuhofii) ระยะปลานิ้ว การพัฒนาเทคโนโลยีหลังการจับปลาดุก การพัฒนาระบบน้ำหมุนเวียนสำหรับการเลี้ยงปลาดุกลูกผสม (Clarias macrocephalus X C. gariepinus) การจัดการพันธุกรรมพ่อแม่พันธุ์ปลาดุกลำพันในโรงเพาะฟักโดยใช้โมเลกุลเครื่องหมาย AFLP การเพิ่มศักยภาพการผลิตปลาดุกลำพันเพื่อการอนุรักษ์และการเพาะเลี้ยง เชิงพาณิชย์ การศึกษาการเพาะพันธุ์และการอนุบาลปลาค้อลายดวง ผลของการเสริมบีตากลูแคนในอาหารต่อภูมิคุ้มกันแบบไม่จำเพาะของปลาดุกลำพัน (Clarias nieuhofii) การอนุบาลปลาช่อนในกระชังในพื้นที่ดินพรุ

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก