สืบค้นงานวิจัย
การเพาะไรแดงโดยใช้กากมันเส้นบด
สุขุม ปะทักขินัง - กรมประมง, กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง
ชื่อเรื่อง: การเพาะไรแดงโดยใช้กากมันเส้นบด
ชื่อเรื่อง (EN): CULTURE OF WATER FLEA (Moina macrocopa, Straus) BY USING CASSAVA MEAL
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สุขุม ปะทักขินัง
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN): Water flea ( Moina macrocopa, Straus ), culture ,cassava meal
บทคัดย่อ: การศึกษาอัตราการใช้มันเส้นบดที่เหมาะสมในการเพาะไรแดง ทำการทดลองในบ่อซีเมนต์ขนาด 3 ตารางเมตร วางแผนการทดลองแบบสุ่มตลอด ใช้ระขะเวลา 7 วัน ตั้งแต่เตรียมการจนถึงเก็บเกี่ยวผลผลิตไรแดงโดยแบ่งการทดลองออกเป็น 2 การทคลอง ในการทดลองที่ 1 แบ่งเป็น 5 ชุดการทดลอง ชุดการทคลองที่ 1 (ชุดควบคุม) ใช้กากผงชูรส 1,200 มิลลิลิตร/ปริมาตรน้ำ 720 ลิตร ชุดการทคลองที่ 2-5 ไม่ใช้กากผงชูรสแต่ใช้มันเส้นบดในปริมาณ 200, 400, 800 และ 1,600 กรัม/ปริมาตร์น้ำ 720 ลิตรแทน การทคลองที่ 2 แบ่งเป็น 5 ชุดการทคลอง ชุดการทคลองที่ 1 (ชุดควบคุม ใช้กากผงชูรส ,200 มิลลิลิตรปริมาตรน้ำ 720 ลิตร ชุดการทคลองที่ 2-5 ไม่ใช้กากผงชูรสแต่ใช้มันเส้นบดในปริมาณ 100, 200, 300 และ 400 กรัม/ปริมาตรน้ำ 720 ลิตรแทน จากการ ทคลองสรุปได้ว่า อัตราการใช้มันเส้นบคในปริมาณ 200 กรัม สามารถใช้แทนกากผงชูรส 1,200 มิลลิลิตร ได้ โดยผลผลิตเฉลี่ยของไรแดง (0.7640.03 กรัม/ลิตร มีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำกัญทางสถิติ (P>0.05)
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2549
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2549
เอกสารแนบ: http://www.inlandfisheries.go.th/research/details.php?id=176
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเพาะไรแดงโดยใช้กากมันเส้นบด
กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง
2549
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
เอกสารแนบ 3
การเพาะไรแดงโดยใช้กากน้ำตาล พัฒนาการผลิตขยายไรตัวห้ำ Amblyseius longispinosus เพื่อใช้ควบคุมไรแดงศัตรูพืช การเพิ่มคุณค่าของกากมันสำปะหลังสำหรับใช้เป็นอาหารโค โดยการหมักด้วยกลุ่มจุลินทรีย์จากกระเพาะรูเมนที่ผ่านการเพาะเลี้ยงเพื่อเพิ่มจำนวน (ระยะที่ 1) การประยุกต์ใช้วัสดุเหลือใช้จากการเพาะเห็ดเป็นสารเสริมในอาหารไก่เนื้อ ศึกษาการใช้ประโยชน์จากขี้เลื่อยเก่าจากการเพาะเห็ด การใช้อะเมซอนใบกลม (Echinodorus cordifolius) เพื่อบำบัดน้ำเสียจากระบบการเพาะเลี้ยงปลานิลแดงแปลงเพศ การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์จากมันเส้นและยูเรียในอาหารสัตว์เคี้ยวเอื้อง ผลของการเก็บรักษาไรแดงต่อการเจริญเติบโตของปลา การศึกษาผลของการใช้จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในขั้นตอนการเพาะเลี้ยงปลานิล การผลิตเอทานอลโดยใช้วัสดุเหลือทิ้งจากการเพาะเห็ด

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก