สืบค้นงานวิจัย
การประยุกต์ใช้ระบบเพาะเลี้ยงแบบจมชั่วคราวในการผลิตกล้วยไม้ในปริมาณมาก
นิรมล รังสยาธร - มหาวิทยาลัยพะเยา
ชื่อเรื่อง: การประยุกต์ใช้ระบบเพาะเลี้ยงแบบจมชั่วคราวในการผลิตกล้วยไม้ในปริมาณมาก
ชื่อเรื่อง (EN): Application of temporary immersion system for mass propagation of orchids.
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: นิรมล รังสยาธร
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การเพาะขยายพันธุ์พืชโดยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อถูกนำมาใช้อย่างกว้างขวางใน พืชหลาย ๆ ชนิด ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาเทคนิคเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเพาะเลี้ยง เนื้อเยื่อด้วยระบบจมชั่วคราว (Temporary immersion system, TIS) ซึ่งเทคนิคนี้สามารถลด เวลาสำหรับการย้ายเนื้อเยื่อระหว่างการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชในอาหารวุ้น ในการทดลองนี้นำ โปรโตคอร์มเอื้องเงินและเอื้องช้าวนัาวที่เพาะในสภาพปลอดเชื้อมาเพาะเลี้ยงในอาหารวุ้นสูตร MS และอาหารเหลวสูตร MS ในระบบจมชั่วคราวเพื่อหาระยะเวลาที่เหมาะสมในการให้อาหาร พืช ผลการทดลองพบว่าเอื้องเงินที่พาะเลี้ยงในระบบระบบจามชั่วคราวขนาด 0.5 ลิตรแบบ ขวดสองชั้นที่ให้อาหารเป็นเวลา 5 นาที ทุก 2 ชั่วโมงนั้นมีการเจริญเติบโตดีที่สุด โดยอัตราการ แตกยอดเอื้องเงินที่เพาะในระบบจมชั่วคราวเท่ากับ 2.0 เท่าในขณะที่เอื้องเงินที่เพาะเลี้ยงใน อาหารวุ้นมีอัตราการแตกยอดเพียง 1.4 เท่า ในขณะที่โปรโตคอร์มของเอื้องช้างน้าวไม่ประสบ ผลสำเร็จในการนำมาเพาะเลี้ยงด้วยระบบจมชั่วคราว อย่างไรก็ตามในการทดลองนี้ยังไม่ ประสบผลสำเร็จในการขยายขนาดภาชนะของระบบจมชั่วคราวให้ใหญ่ขึ้นนั้นในการเพาะเลี้ยง เอื้องเงิน
บทคัดย่อ (EN): Tissue culture is a technique widely and successfully used for micropropagation of various kind of plants. Recently, the development of techniques such a temporary immersion system has significantly improved the efficiency of tissue culture propagation method. This technique could avoid time-consuming sub-culturing necessary with the use of solid media for plant in vitro culture. In this work, in vitro grown protocorms of Dendrobium draconis were cultured on a solid medium and temporary immersion system using MS medium for investigation. The different durations of immersion were applied to determine the best cultural conditions. For most effective treatment, plantlets were immersed for 5 minutes every 2 h. Multiplication rate of the protocorm culture on TIS and solid medium were 2.9 and 1.4 respectively. Further studies are now in progress to optimize the protocol in view of a possible wider application of temporary immersion systems (TIS) to this species.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยพะเยา
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การประยุกต์ใช้ระบบเพาะเลี้ยงแบบจมชั่วคราวในการผลิตกล้วยไม้ในปริมาณมาก
มหาวิทยาลัยพะเยา
30 กันยายน 2554
โครงการการเพาะเมล็ดกล้วยไม้รองเท้านารีในสภาพปลอดเชื้อ การศึกษาความหลากหลายของกล้วยไม้ที่พบในมหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยาด้วยลายพิมพ์ดีเอ็นเอโดยใช้เทคนิค AFLP (Amplified Fragment Length Polymorphism) การประยุกต์ใช้ระบบการผลิตผักเชียงดาและประเมินต้นทุนการผลิตเชียงดาในฟาร์มต้นแบบ การผลิต Inulin และ Oligofructose จากกล้วยเพื่อใช้เป็นสารเสริมอาหาร การพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและการผลิตกล้วยไม้สกุลม็อคคาร่า การขยายพันธุ์กล้วยไม้ด้วยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ โครงการวิจัยการประยุกต์ใช้คอนกรีตพรุน (Porous Concrete) สำหรับการพัฒนาแหล่งน้ำ การศึกษาการผลิตอาหารสุนัข การผลิตหัวเชื้อสารชีวภัณฑ์เชื้อราเพื่อการกำจัดเพลี้ยไฟกล้วยไม้ ปริมาณใบหม่อนที่ผลิตได้ในศูนย์วิจัยและอบรมไหมนครราชสีมา เดือนมิถุนายน 2522 ถึงเดือนมกราคม 2523

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก