สืบค้นงานวิจัย
ประสิทธิภาพของสารสกัดจากไมยราบต่อการควบคุมโรคแอนแทรคโนสของมะม่วงน้ำดอกไม้ในระหว่างการเก็บรักษา
รองศาสตราจารย์ ดร.ฐิติพรรณ ฉิมสุข - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: ประสิทธิภาพของสารสกัดจากไมยราบต่อการควบคุมโรคแอนแทรคโนสของมะม่วงน้ำดอกไม้ในระหว่างการเก็บรักษา
ชื่อเรื่อง (EN): Efficacy of Extracts from Mimosa pudica L. for Controlling Anthracnose Disease of ‘Nam Dok Mai’ Mangoes During Storage
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: รองศาสตราจารย์ ดร.ฐิติพรรณ ฉิมสุข
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: นฤมล เสียงเล็ก
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ในการทดลองนี้ได้ศึกษาปริมาณฟีนอลิกรวมของสารสกัดเอทานอลและสารสกัดน้ำของต้นไมยราบ (Mimosa pudicaวงศ์Mimosaceae หรือ Fabaceae) ที่ได้จากจังหวัดชัยภูมิ ประเทศไทย และศึกษาความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดไมยราบโดยวิธี ABTS assay นอกจากนี้ได้วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณฟีนอลิกและความสามารถในการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า สารสกัดเอทานอลของไมยราบมีประสิทธิภาพในการต้านอนุมูลอิสระที่ค่า IC500.19?0.01 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ในขณะที่สารสกัดน้ำแสดงค่า IC50เท่ากับ 0.08?0.01 มิล
บทคัดย่อ (EN): The total phenolic contents of the ethanol and aqueous extracts of the whole plantof Mimosa pudicaLinn.belonging to the genus Mimosa pudica (Family : Mimosaceaeor Fabaceae), which originates from Chaiyaphum Province, Thailand were determined in this experiment. The antioxidant activity of the extracts of M. pudicaLinn.was also evaluated by ABTS assay. In addition, correlation analysis between total phenolic contents and antifungal activity was also made in the present study. The results revealed
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-09-30
เอกสารแนบ: https://erp.mju.ac.th/researchDetailPublic.aspx?sys=&rid=2782
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ประสิทธิภาพของสารสกัดจากไมยราบต่อการควบคุมโรคแอนแทรคโนสของมะม่วงน้ำดอกไม้ในระหว่างการเก็บรักษา
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
30 กันยายน 2556
เอกสารแนบ 1
ผลของสารสกัดหยาบจากไมยราบและหญ้าขนต่อการงอกและการเติบโตของต้อยติ่ง ผลของการเคลือบเมล็ดพันธุ์ร่วมกับสารเรืองแสง Rhodamin-B ต่อคุณภาพหลังการเก็บรักษาในสภาพแวดล้อมที่ต่างกันของเมล็ดพันธุ์มะเขือเทศลูกผสม ผลยับยั้งของสารสกัดจากผลดีปลีต่อเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides สาเหตุโรคแอนแทรคโนสของผลมะม่วง ผลของอุณหภูมิและวิธีการเก็บรักษาต่อแตนเบียนไข่, Trichogramma spp. แนวทางการส่งเสริมการผลิตมะม่วงของเกษตรกรในจังหวัดสุพรรณบุรี การไว้ผลต่อคุณภาพผลและการคัดขนาดของมะม่วงพันธุ์น้ำดอกไม้สีทอง ผลของอุณหภูมิในการเก็บรักษาต่อการเปลี่ยนแปลงความหนืด ของข้าวพันธุ์ต่างๆ ประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบจากตะไคร้หอมในการควบคุมเชื้อราสาเหตุโรคผลเน่าในมะม่วงและโรคโคนเน่าในผัก ผลของสารสกัดจากรากกระพังโหมต่อการเกิดเจลซูริมิจากปลาชะโด ผลของสภาพการเก็บรักษาภายใต้สภาวะปิดความดันต่ำที่มีต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์ข้าวและแมลงในโรงเก็บ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก