สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาฤทธิ์ต้านการอักเสบและฤทธิ์ต้านแบคทีเรียของสารสกัดโคนต้นหม่อน
อิชยา เยี่ยมวัฒนา - มหาวิทยาลัยนเรศวร
ชื่อเรื่อง: การศึกษาฤทธิ์ต้านการอักเสบและฤทธิ์ต้านแบคทีเรียของสารสกัดโคนต้นหม่อน
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อิชยา เยี่ยมวัฒนา
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Ichaya Yiemawttana
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
หมวดหมู่:
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2559-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2560-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยนเรศวร
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
รายละเอียด: วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อทดสอบความเป็นพิษของสารสกัดโคนต้นหม่อนต่อไฟโบรบลาสต์ของเอ็นยึดปริทันต์ ที่แยกจากมนุษย์ และประเมินฤทธิ์ต้านการอักเสบของสารสกัดโคนต้นหม่อนต่อไฟโบรบลาสต์ของเอ็นยึดปริทันต์ที่ถูกกระตุ้นด้วยไลโปโพลีแซคคาไรด์จากเชื้อพอร์ไฟโรโมแนส จิงจิวาลิส โดยการศึกษาการแสดงออกของอินเตอร์ลิวคิน-1 เบต้า อินเตอร์ลิวคิน-6 และอินเตอร์ลิวคิน-8 ด้วยวิธี real-time PCR และวิธี enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA) และทดสอบฤทธิ์ในการต้านเชื้อพอร์ไฟโรโมแนส จิงจิวาลิสในห้องปฏิบัติการ โดยการวัดค่า minimum inhibitory concentration (MIC) และ minimum bactericidal concentration (MBC)
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาฤทธิ์ต้านการอักเสบและฤทธิ์ต้านแบคทีเรียของสารสกัดโคนต้นหม่อน
มหาวิทยาลัยนเรศวร
30 กันยายน 2560
ฤทธิ์ต้านการอักเสบของสารสกัดจากใบมะรุม ฤทธิ์การต้านจุลชีพของสารสกัดจากใบมะกรูด การทดสอบฤทธิ์ต้านการก่อกลายพันธุ์ของสารสกัดน้ำพริกและผักแนมโดยวิธีทดสอบเอมส์ การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดใบกฤษณาเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพ การแยกและการตรวจสอบฤทธิ์ทางชีวภาพของเชื้อแบคทีเรียที่อยู่ร่วมกับไลเคนซึ่งเก็บจากพื้นที่การเกษตร ฤทธิ์ยับยั้งของสารสกัดโคนต้นหม่อนต่อการแสดงออกของเอ็มเอ็มพี-1 เอ็มเอ็มพี-2 และ เอ็มเอ็มพี-9 จากการกระตุ้นด้วยด้วยไลโปโพลีแซคคาไรด์จากเชื้อพอร์ไฟโรโมแนส จิงจิวาลิส และการกำเนิดของเซลล์สลายกระดูก ฤทธิ์ต้านการอักเสบของข้อและต้านหลอดเลือดแข็งของสารสกัดพิกัดนวโกฐในหนูที่กระตุ้นการอักเสบของข้อด้วยคอลลาเจน ฤทธิ์ต้านเชื้อราของแบคทีเรียปฏิปักษ์ Streptomyces hygroscopicus NR8-2 ต่อเชื้อราสาเหตุโรคใบจุดของผักสลัด ฤทธิ์ต้านออกซิเดชันทางชีวภาพของสารสกัดจากผักช้าเลือด เพื่อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารต้านอนุมูลอิสระ ฤทธิ์ต้านจุลชีพของสารสกัดสมุนไพรต่อจุลชีพที่ทำให้อาหารเน่าเสีย

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก