สืบค้นงานวิจัย
ผลของการเสริมเอนไซม์ย่อยเยื่อใยในอาหารผสมสำเร็จที่ใช้ชานอ้อยหมักยูเรียเป็นอาหารหยาบต่อสมรรถนะการให้ผลผลิตของโคนม
รัชตาภรณ์ ลุนสิน - สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
ชื่อเรื่อง: ผลของการเสริมเอนไซม์ย่อยเยื่อใยในอาหารผสมสำเร็จที่ใช้ชานอ้อยหมักยูเรียเป็นอาหารหยาบต่อสมรรถนะการให้ผลผลิตของโคนม
ชื่อเรื่อง (EN): Effect of fibrolytic enzyme in total mixed ration (TMR) containing urea treated bagasse as a roughage source on dairy cow performance
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: รัชตาภรณ์ ลุนสิน
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
หมวดหมู่:
หมวดหมู่ AGRIS:
บทคัดย่อ: การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผสของการเสริมเอนไซม์ย่อยเยื่อไยในอาหารผสมสำเร็จ ที่ใช้ชานอ้อยหมักยูเรียเป็นอาหารหยาบต่อสมรรถะการให้ผลผสิตของโคนม โดยแบ่งการทดลองเป็น 3 การ ทดลอง การทดลองที่ 1 การศึกษาผลของการหมักชานอ้อยด้วยยูเรียและกากน้ำตาลต่อองค์ประกอบทางเคมื ของชานอ้อยหมัก ปริมาณผลผลิตแก๊สและการย่อยได้ในหลอดทดลองของโคนม วางแผนการทดลองแบบ 2X2 x2 factorial arrangement ในผนการทลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (CRD) มีกลุ่มควบคุมเป็นชานอ้อยไม่ได้หมัก และมีปัจจัยการทดลอง คือ ปัจจัย A กระบวนการหมัก ได้แก่ ชานอ้อยก่อนการหมัก (BF) และซานอ้อยหลัง การหมัก 21 วัน (AF) ปัจจัย B คือ ระตับของยูเรีย ได้แก่ 0 และ 5% (UO or U5) และ ปัจจัย C คือ ระดับ ของกากน้ำตาล 0 และ 5% (MO or M5) ผการทลองพบว่ การหมักซานอ้อยด้วยยูเรียและกากน้ำตาลทำ ให้องค์ประกอบของโปรตีนในซานอ้อยหมักมีค่าเพิ่มขึ้น (P0.05 มากไปกว่านั้น การใช้เอนไซม์ 4% ในอาหารผสมสำเร็จทั้งการเสริมในอาหารขั้นและการ ใช้เอนไซม์หมักชานอ้อยร่วมกับยูเรียและกากน้ำตาล ทำให้ค่าจนพลศาสตร์การผลิตแก๊ส ปริมาณผลผลิตแก๊ส และการย่อยได้สูงกว่ากลุ่มอื่น ดังนั้น การใช้เอนไชม์ย่อยเยื่อใยในอาหารผสมสำเร็จที่ใช้ชานอ้อยหมักยูเรีย ร่วมกับกากน้ำตาลเป็นอาหารหยาบ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการหมักในกระเพาะรูเมนของอาหาร ผสมสำเร็จได้ การทดลองที่ 3 การศึกษาผลของการเสริมเอนไซม์ย่อยเยื่อใยในอาหารผสมสำเร็จที่ใช้ชานอ้อยหมัก ยูเรียเป็นอาหารหยาบต่อสมรรถะการให้ผลผลิตของโคนม โดยใช้โคนมพันธุ์ผสมโฮลสไตน์ฟรีเซียน อยู่ใน ระยะเริ่มต้น-กลางของการให้นม จำนวน 4 ตัว วางแผนการทดลองแบบ 4x4 จตุรัสละติน (4x4 Latin Square Design) เพื่อศึกษาผลของการเสริมเอนไซม์ย่อยเยื่อใย (เพนโตไชม์@) ที่ผลิตจากเชื้อราสายพันธุ์Aspergillus niger BCC7178 ในอาหารผสมสำเร็จสำหรับโครีนมที่ระดับ 0, 2, 4 และ 6 เปอร์เซ็นต์ ต่อ ปริมาณการกินได้ การย่อยได้ของโภชนะ กระบวนการหมักในกระเพาะรูเมน ผลผลิตน้ำนมและองค์ประกอบ ทางเคมีของน้ำนม ตลอดจนผลตอบแทนทางเศรษฐกิจจากการเลี้ยงโคนม ผลการทดลองพบว่า ปริมาณการ กินได้ของโคนมไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P 0.05) ในทางตรงกันข้ามการเสริมเอนไซม์ย่อยเยื่อใยในอาหาร ผสมสำเร็จทำให้ความ เข้มข้นของกรดไขมันที่ระเหยได้ง่ายทั้งหมด กรดโพรพิโอนิก ณ ที่เวลา 4 ชั่วโมงหลังการให้อาหาร และ ค่าเฉลี่ยของกรดไขมันระเหยได้ง่ยทั้งหมด กรดโพรพิโอนิก มีค่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P0.05) แต่ปริมาณน้ำนมเมื่อปรับไขมันนม 3.5% และเปอร์เซ็นต์ไขมันนมมีค่าสูงที่สุด (P>0.05 โคนมที่ได้รับการเสริมเอนไซม์ย่อยเยื่อใย 49 ในอาหารผสม สำเร็จ เมื่อพิจารณาผลตอบแทนทางเศรษฐกิจจากการเลี้ยงโคนม พบว่า การเลี้ยงโคนมด้วยอาหารผสมสำเร็จ ที่เสริมเอนไซม์ในระดับต่งๆกันมีผลทำให้ต้นทุนทั้งหมดของการเลี้ยงโคนมมีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยเมื่อเพิ่มระดับการเสริมเอนไซม์ในอาหารผสมสำเร็จ ทำให้ต้นทุนค่อาหารมี ค่าเพิ่มขึ้นอย่างเป็นเส้นตรง (P<0.05) ตามระดับการเสริมเอนไซม์ ส่งผลทำให้ต้นทุนทั้งหมด มีค่าเพิ่มสูงด้วย เช่นกัน และเมื่อพิจารณาผลตอบแทนที่จะได้รับจากการเลี้ยงโคนม พบว่ ผลตอบแทนทั้งหมดของโคนมที่ ได้รับการอาหารผสมสำเร็จเสริมด้วยเอนไซม์ 4% มีผลตอบแทนทั้งหมดสูงที่สุด แต่ในทางตรงกันข้ามการ เสริมเอนไซม์เอนไซม์ย่อยเยื่อใยในอาหารผสมสำเร็จทำให้ได้รับผลตอบแทนสุทธิลดลงอย่างเป็นเส้นตรง (P<0.05) เมื่อเพิ่มระดับการเสริมเอนไซม์ในอาหารผสมสำเร็จ และการเลี้ยงโคนมอาหารผสมสำเร็จเสริมแอน ไซม์ 6% ทำให้มีผลตอบแทนสุทธิน้อยที่สุด
บทคัดย่อ (EN): This experiment was to study the effects of effect of fibrolytic enzyme in total mixed ration (TMR) containing urea treated bagasse as a roughage source on dairy cow performance. Three experiments were conducted. Experiment 1: Effect of urea and molasses treated sugarcane bagasse on chemical composition, fermentation quality, in vitro gas production and digestibility in dairy cows. The experiment followed the Completely Randomized design (CRD) with 2x2x2 factorial arrangement of treatments with control. The control treatment involved sugarcane bagasse without any treatment. Factor A was before or after sugarcane bagasse fermented with substrate at 21 d (BF or AF), factor B was level of urea 0 or 5% (UO or U5) and factor C was level of molasses 0 or 5% (MO or M5). The results showed that CP content of sugarcane bagasse was increased (P0.05) by enzyme supplemented. Moreover, supplementation of 4% enzyme in TMR by mixed with concentrate and fermented in combination with urea-molasses treatment of sugarcanebagasse showed higher gas kinetics and gas production as well as in vitro ruminal digestion when compared with other treatments. Based on this study utilization of fibrolytic enzyme in TMR containing urea-molasses treatment of sugarcane bagasse could improve in vitro rumen fermentation of TMR. Experiment 3: Effect of fibrolytic enzyme in total mixed ration (TMR) containing urea treated bagasse as a roughage source on dairy cow performance. Four, multiparous early- mid lactation Holstein-Friesain crossbred cows were randomly allocated in 4x4 Latin Square Design. All cow were used to determine effect of fibrolytic enzyme (pentozyme@) from Aspergillus niger BCC7178 in TMR at 0, 2, 4 and 6% on feed intake, nutrient digestibility, rumen fermentation, milk yield and milk composition as well as economical return in lactating dairy cows. The results showed that dry matter intake was not significant differences among treatments (P>0.05). Whereas, digestion coefficients of DM, OM, NDF and ADF were significant highest in cow fed with 4% fibrolytic enzyme (P0.05). On the other hand, total volatile fatty acids and propionic acid at 4 h-post feeding as well as the mean of total volatile fatty acids and propionic acid were significantly highest in cow fed with 4% fibrolytic enzyme in TMR (P0.05); while, 3.5% fat collected milk and mil fat were significantly highest in cow fed with 4% enzyme. Feeding cow with fibrolytic enzyme in TMR were affected economical of return by linearly increased (P<0.05) feed cost and total cost of production when increasing level of enzyme supplementation. Although, feeding cow with 49 enzyme in TMR had highest in total returns, net returns was linearly decreased (P<0.05) when increasing level of enzyme supplementation, which was lowest in cow fed with 6% enzyme.
ชื่อแหล่งทุน: T2560004 ทุนวิจัยมุ่งเป้า ปีงบประมาณ 2560 อ้อยและน้ำตาล
เลขทะเบียนวิจัยแหล่งทุน: RDG60T0154
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2560
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2561
เอกสารแนบ: http://elibrary.trf.or.th/project_content.asp?PJID=RDG60T0154
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-SA 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2560
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยประยุกต์
เผยแพร่โดย: สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของการเสริมเอนไซม์ย่อยเยื่อใยในอาหารผสมสำเร็จที่ใช้ชานอ้อยหมักยูเรียเป็นอาหารหยาบต่อสมรรถนะการให้ผลผลิตของโคนม
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
2561
เอกสารแนบ 1
เปรียบเทียบการใช้ชนิดและปริมาณปุ๋ยอินทรีย์ในการปลูกอ้อยเพื่อเกษตรกรรายย่อยใน อำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ เทคนิคการเลี้ยงโคนมทดแทน คู่มือการประเมินและให้คะแนนรูปร่างโคนม การประเมินอินทรียวัตถุที่ย่อยได้ และพลังงานที่ใช้ประโยชน์ได้ของอาหารผสมสำเร็จที่ใช้ทางใบปาล์มน้ำมันหมักเป็นแหล่งอาหารหยาบเสริมเอนไซม์ระดับต่างๆโดยใช้เทคนิคผลผลิตแก๊ส การประเมินประสิทธิภาพการสืบพันธุ์ของโคนมโดยวิธีเรดิโออิมมูนโนแอสเซ การศึกษาการใช้อาหารหยาบผสมสำเร็จ (TMF) ต่อการให้ผลผลิตของโคนม การใช้กากมันสำปะหลังจากการผลิตเอทานอลหมักยีสต์ เพื่อเป็นอาหารในโครีดนม การใช้อาหารผสมและเปลือกสับปะรดขุนโคเป็นการค้า 2553A17002120   การออกแบบและประเมินผลเครื่องสับฟางเพื่อใช้เป็นอาหารหยาบ สำหรับโคนม การใช้อาหารผสมเป็นอาหารเสริมสำหรับขุนกระบือในคอก

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก