สืบค้นงานวิจัย
การวิจัยและพัฒนาการเกษตรแบบอินทรีย์ในพื้นที่เกษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดมหาสารคาม
ปณรัตน์ ผาดี - มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
ชื่อเรื่อง: การวิจัยและพัฒนาการเกษตรแบบอินทรีย์ในพื้นที่เกษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดมหาสารคาม
ชื่อเรื่อง (EN): Research and development of organic agriculture in royal theory for agriculture farmimg in Maha Sarakham
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ปณรัตน์ ผาดี
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การวิจัยและพัฒนาการเกษตรแบบอินทรีย์ในพื้นที่เกษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัด มหาสารคามมีวัตถุประสงค์เพื่อ สร้างงานวิจัยประยุกต์ทางด้านการเกษตรอินทรีย์ (สาขาพืช สัตว์ และสัตว์น้ำอินทรีย์ ในพื้นที่เกษตรทฤษฎีใหม่ของเกษตรกร การวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วน ที่ 1 ศึกษาศักยภาพและความต้องการของเกษตรกรที่ทำการเกษตรแบบทฤษฎีใหม่ในจังหวัด มหาสารคาม ที่จะเข้าร่วมโครงการนำร่องการเกษตรอินทรีย์ ส่วนที่ 2 เป็นการวิจัยการเกษตรแบบอินทรีย์ในพื้นที่คัดเลือก 4 ครอบครัวใน 4 อำเภอ เน้น ให้เกษตรกรเป็นผู้คำเนินการตามแผนงานวิจัย จากนั้นจึงวิเคราะห์และสรุปร่วมกับคณะผู้วิจัย การ วิจัยแบ่งออกเป็น 3 โครงการย่อย ได้แก่ (1) การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตข้าวอินทรีย์ ทำการศึกษาข้อมูลเบื้องดันเกี่ยวกับการทำนาของเกษตรกร ศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพ เคมี และ ชีวภาพของดิน ผลของการใช้ปุ๋ยตอกและร่วมกับชีโฮไลท์ต่อการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติขฮงดินนา และผลผลิตของข้าวขาวคอกมะลิ 105 ในพื้นที่ของเกษตรกร และเพิ่มผลผลิตของข้าวขาวคอกมะลิ 105 จากการให้ปุ๊ยต่างชนิคและต่างปริมาณกัน (2) การพัฒ ารเลี้ยงปลานิลอินทรีย์ในบ่อระบบ ปิด ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับการเลี้ยงปลา พัฒนากา ารเลี้ยงโดยสร้างสูตรอาหารอินทรีย์ เปรียบเทียบผลของสูตรอาหารต่อ การเจริญเดิบโด การเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อ อันทุนการผถิต การ เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติน้ำและดินก่อน ระหว่าง และหลังการทคลอง แนวทางการย่อยสลาย สารอินทรีย์กายในบ่อโดยใช้จุสินทรีย์ ปัญหาสุขภาพปลา ทำการทศลฮง 3 รอบการผลิต รอบแรก เป็นการเลี้ยงปลานิลด้วยอาหารสำเร็จรูป รอบที่สองเลี้ยงปลานิลด้วยอาหารปลาอินทรีย์ (ระยะ ปรับเปลี่ยน) และระยะที่ 3 เป็นการเลี้ยงปลาแบบอินทรีย์ (3) การผลิศสุกรอินทรีย์เพื่อการพัฒนา ที่งยั่งยืน ศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่นใ การเลี้ยงสุกรเปรียบเทียบกับวิธีการเลี้ยงสมัยใหม่ เรียบเทียบสูตรอาหารและวิธีการให้อาหารที่มีต่อสมรรถภาพการเจริญเติบโตในคอก 3 ประเภท แบบซี่เมนต์ แบบพื้นดิน และแบบหลุม ศึกษาการเจริญเติบโต อัตราการแลกเนื้อ ปัญหาสุขภาพสุกร เปรียบเทียบต้นทุนการผลิตจากการเลี้ยงในแต่ละวิธี ศึกษาอายุการเป็นสัดและการผสมพันธุ์ ครั้งแรกของสุกรถูกผสม อัตราการผสมติดและจำนวนลูกต่อครอกของสุกรถูกผสมภายใต้การ จัดการแบบอินทรีย์ และประเมินความสามารถของการเป็นแม่พันธุ์ และส่วนที่ 3 โครงการถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตรแบบอินทรีย์ โดยการนำผลการวิจัยทั้ง 3 โครงการที่ได้ทำการวิจัยในพื้นที่ เกษตรทฤษฎีใหม่มาถ่ายทอดแก่เกษตรกรและผู้สนใจ ข้อค้นพบที่สำคัญพบว่า เกษตรกรร่วมโครงการมีความสนใจ กระตือรือร้นที่จะเรียนรู้ และ ร่วมมือกับคณะผู้วิจัยเป็นอย่างดี โดยมีส่วนร่วมในการวิจัยในทุกขั้น ตอนของการวิจัย เมื่อโครงการวิจัยสิ้นสุดลงนอกจากเกษตรกรจะได้ผลผลิตจากงานวิจัยแล้ว เกษตรกรยังได้เรียนรู้ ประสบการณ์จากการสองผิดสองถูกจากงานวิจัย การเปรียบเทียบตัวแปรต่างๆ การวิเคราะห์ ประเมินผล การเรียนรู้จากข้อผิดพลาด และการนำทรัพยากรที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์นั้น ถือ เป็นนักวิจัยชุมชนที่สามารถเรียนรู้ตลอดชีวิต และเป็นต้นแบบให้แก่เกษตรกรในพื้นที่ใกล้เคียง และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้และสามารถดำเนินงานต่อไปได้
บทคัดย่อ (EN): Research and Development of organic agriculture in Royal theory farming in Maha sarakham Province aims to conducted applied research of organic agriculture (plants, animals and aquatic animals) in farmer sites. The studies consisted of 3 parts, first part: to studies on the potential and needed of farmers who prefenred to be a research model of organic farming. Second part: to settle 3 sub-rescarch projects in 4 selected farms from 4 districts. Experimental designed were carried out by co-work farmer in their land. First sub- project; Efiect of some factors on organic rice production; to examine the traditional rice culture, soil properties, effect of cattle dung and pumice on some soil properties, growth rate, yield quality, seed vigor and product improvement of Kao-Dork Mali 105 (KDML 105) using various ratio and volume of fertilizer in the farmer sites. Second sub-project; The development of organic nile tilapia (Oreochromis niloticus) cultured in closed system ponds in the Royal Theory farming. Experiment was undertaken 3 phases in the close ponds as; traditional fish culture, pre-organic fish culture and organic fish culture. Aims to invested the traditional fish culture in closes system ponds, developed organic feed formulates compared to commercial feed on growth rate, feed conversion ratio, feed cost production, soil and water quality variation pre-, during and post-experiment. Moreover, organic matter degradation using natural bacteria and fish health condition were also carried out. Third sub-project; the sustainable development of organic pigs, aims to compared indigcnous and modem knowledge on swine culture, compared feed formulates and feeding techniques of the pigs reared in 3 support cages on growth performance, feed conversion ratio, health problems and feed cost per gain. In addition, effect of organic condition management on the heat and puberty of inbreed pigs, conception rate, little size and breeding capacity evaluation were examined. Third part: Technology transference of organic agriculture. After completed the rescarch project, researcher and farmer were set up the meeting to pass their experience to other farmer and organic agriculture interesting persons. The results found that co-work farmers showed high intention, interesting and enthusiastic on doing research. They can follow the experimental designs, even though, at the beginning they did not understand the way of research. Finally, the farmers can get experience of trial and error learning on comparing some effective factors, data analysis, data evaluation and leam how to correct the mistake and applied natural resources to improve the yields.
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2549-09-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551-08-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การวิจัยและพัฒนาการเกษตรแบบอินทรีย์ในพื้นที่เกษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดมหาสารคาม
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
30 สิงหาคม 2551
แผนงานวิจัยและพัฒนาเกษตรอินทรีย์ โครงการวิจัยและพัฒนาต้นแบบระบบการปลูกพืชตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม ความคิดเห็นของเกษตรกรต่อการผลิตข้าวอินทรีย์ โครงการเกษตรอินทรีย์วิถีศรีสะเกษ ปี 2547 จังหวัดศรีสะเกษ การจัดการโซ่อุปทานการผลิตข้าวอินทรีย์ของกลุ่มสหกรณ์เกษตรอินทรีย์ทัพไทย จำกัด ตำบลทมอ อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ศึกษาพัฒนาการของการผลิตพืชในระบบเกษตรอินทรีย์ ประเมินผลการฝึกอบรมเยาวชนเกษตรหลักสูตรการผลิตทางการเกษตรโดยวิธีการเกษตรอินทรีย์ ปี 2546 กลุ่มวิจัยพริกเพื่อการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ที่ยั่งยืน โครงการวิจัยการศึกษาผลกระทบของสิ่งแวดล้อมในระบบเกษตรอินทรีย์ โครงการวิจัยและพัฒนาต้นแบบระบบการปลูกพืชตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา โครงการวิจัยและพัฒนาต้นแบบระบบการปลูกพืชตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดอำนาจเจริญ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก