สืบค้นงานวิจัย
การควบคุมโรคผลสตรอเบอรี่เน่าด้วยสารป้องกันกำจัดเชื้อราที่อุณภูมิห้องและที่ 10 องศาเซลเซียส
นิพนธ์ วิสารทานนท์ - กรมวิชาการเกษตร
ชื่อเรื่อง: การควบคุมโรคผลสตรอเบอรี่เน่าด้วยสารป้องกันกำจัดเชื้อราที่อุณภูมิห้องและที่ 10 องศาเซลเซียส
ชื่อเรื่อง (EN): Fungicides for the Control of Strawberry Fruit Rots Under Different Storage Temperatures
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: นิพนธ์ วิสารทานนท์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Niphon Visarathanonth.
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การทดลองจุ่มผลสตรอเบอรี่ด้วยสารป้องกันกำจัดเชื้อรา benomyl, dicloran , และ iprodione แล้วแบ่งเก็บที่อุณหภูมิห้อง (35-37C) และอุณหภุมิในห้องเย็น (10C) พบว่าสารป้องกันกำจัดเชื้อราทั้ง 3 ชนิดควบคุมโรคผลเน่าได้น้อยที่อุณหภูมิห้อง แต่ iprodione แสดงประสิทธิภาพในการควบคุมโรคได้ดีกว่าสารป้องกันกำจัดเชื้อราอีก 2 ชนิด ส่วนการควบคุมโรคผลเน่าที่อุณหภูมิต่ำพบว่า สารป้องกันกำจัดเชื้อราทั้ง 3 ชนิด สามารถควบคุมโรค grey mold rot ของผลสตรอเบอรี่ได้นาน 10-15 วัน เชื้อราที่ทำให้ผลสตรอเบอรี่เน่าที่อุณหภูมิห้องคือ Rhizopus stolonifer, Botrytis cinerea, Botryodiplodia theobromae , และ Aspergillus sp. ส่วนที่อุณหภูมืต่ำ คือ Botrytis cinerea การวิเคราะห์พิษตกค้างของสารป้องกันกำจัดเชื้อราทั้ง 3 ชนิดในผล สตรอเบอรี่ พบว่า มี benomuyl ตกค้าง 2.875 ppn, dicloran ตกค้าง 6.918 ppm, และ iprodione ตกค้าง 1.056 ppm
บทคัดย่อ (EN): A study of the control of fruit fot of strawerries was undertaken using benomyl (Benlate 50 WP), dicloran (Botran 75 WP) and iprodione (Rovral 50 WP) for fruit stored at room temperature (35 - 37C) and at 10 C .None of the fungicides gave good control of strawberry fruit rots at room temperature for which the main fungi were Rhizopus stolonifer, Botrytis cinerea, Botryodiplodia theobromae and Aspergillus ps. However, iprodione was generally better than benomyl or dicloran. At the lower storage temperature all three fungicides gave good control of grey mold rot when stored for a period of 10 - 15 days. botrytis cinerea is generally the only major cause of fruit rot at low temperature. Analysis of the residue levels of the three fungicides in the strawberry fruit gave 2.857 ppm of benomyl, 6.618 ppm of dicloran and 1.056 ppm of iprodione.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2527
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2527
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมวิชาการเกษตร
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การควบคุมโรคผลสตรอเบอรี่เน่าด้วยสารป้องกันกำจัดเชื้อราที่อุณภูมิห้องและที่ 10 องศาเซลเซียส
กรมวิชาการเกษตร
2527
เอกสารแนบ 1
การแยกความแตกต่างของเชื้อราไรซอคโทเนียสาเหตุโรครากเน่าของสตรอเบอรี่โดยใช้เทคนิคลายพิมพ์ดีเอ็นเอ การติดตามตรวจสอบสารกลุ่มโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในอากาศริมถนนโดยใช้ใบไม้ในเขตจังหวัดนนทบุรี ราที่มีศักยภาพในอุตสาหกรรมการย่อยสลายแป้งและวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรจากระบบนิเวศวิทยาป่าอุทยานสัตว์ป่าอุบลราชธานี โครงการวิจัยและพัฒนาชีวภัณฑ์เกษตรและสารเคลือบผลสำหรับควบคุมโรคผลเน่าของสตรอเบอรี่ ประสิทธิภาพของสารกำจัดเชื้อรา Prochloraz, Propiconazole + Difenoconazole และเชื้อแอกติโนไมซีสต์ ในการควบคุมเชื้อราสาเหตุโรคเมล็ดด่างของข้าว การทดสอบประสิทธิภาพของสารเคมีกำจัดเชื้อราในการป้องกันกำจัดโรคแอสเปอร์จิลลัสของหนอนไหม การทดสอบประสิทธิภาพของสารเคมีกำจัดเชื้อรา ในการป้องกันกำจัดโรคแอสเปอร์จอลลัสของหนอนไหม การศึกษาพฤติกรรมของปากในกาแฟอะราบิก้า 2. อิทธิพลของธาตุทองแดงในสารเคมีป้องกันและกำจัดเชื้อรา ประสิทธิภาพของสารกำจัดเชื้อราประเภทดูดซึมบางชนิดต่อการเจริญเติบโตของเชื้อรา Phytophthora parasitica KK8 ซึ่งเป็นสาเหตุโรคโคนเน่าของพลู ศึกษาวิธีการผลิตยางแผ่นดิบเพื่อป้องกันกำจัดเชื้อรา

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก