สืบค้นงานวิจัย
ศึกษาการจัดการดินตะกอนชั้นล่างโดยใช้วัสดุปรับปรุงดินอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อปลูกมะละกอ
เกษมศรี มานิมนต์ - กรมพัฒนาที่ดิน
ชื่อเรื่อง: ศึกษาการจัดการดินตะกอนชั้นล่างโดยใช้วัสดุปรับปรุงดินอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อปลูกมะละกอ
ชื่อเรื่อง (EN): Study on Sub soils Reclamation by Using Organic Meterials Combination with Chemical fertilizers for Papaya
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: เกษมศรี มานิมนต์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: สมนึก ศรีทองฉิม
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การจัดการดินตะกอนชั้นล่างโดยใช้วัสดุปรับปรุงดินอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อปลูกมะละกอ คำเนินการในพื้นที่ บ้านทุ่งสะบก ตำบลคำตะไนด อำเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรีในปี 2552-2553 รวม 2 ปี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการจัดการดินตะกอนชั้นล่างโดยการใช้วัสดุปรับปรุงดินอินทรีย์ร่วมกับ ปุ๋ยเคมีเพื่อการปลูกมะละคอ เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดิน และ เพื่อเป็นทางเลือกในการประกอบ อาชีพเกษตรในพื้นที่ ในการทดลองนี้ใช้มะละกอพันธุ์แขกคำ โดยวิชีวางแผนการทดลองแบบ RCBD (Randomized Complete Block Design ) ประกอบด้วย 9 คำรับการทคลอง จำนวน 3 ซ้ำ คือ ตำรับที่ I แปลง ควบคุม ตำรับที่ 2 และ ตำรับที่ 3 ใส่ปุ๋ยหมัก และ ปุ๋ยคอก อัตรา 12.50 กิโลกรัมต่อดันต่อปี และ แกลบดิบ อัตรา 200 กิโลกรัมต่อไร่ ตำรับที่ 4 และ ตำรับที่ 5 ใส่ปุ๋ยหมัก และ ปุ๋ยคอก อัตรา 12.50 กิโลกรัมต่อตันต่อปี และ แกลบดิบ อัดรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ ตำรับที่ 6 และตำรับที่ ปียหมัก และปุยคอก อัตรา 25 กิโลกรัมต่อ ดันต่อปี และแกลบดิบ อัตรา 200 กิโลกรัมต่อไร่ ดำรับที่ 8 และดำรับที่ 9 ปุ๋ยหมัก และปุ๋ยคอก อัตรา 25 กิโลกรัมต่อต้นต่อปี และแกลบดิบ อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ และไส่ปุ๋ยคมี สูตร 15-1ร-Iร อัตรา 2 กิโลกรัม ต่อดันต่อปี ฉีดพ่น พด.2 ทุกวันทุกวิธีการ ผลการทดลองพบว่า ตำรับที่ 7 วิธีการใส่ปุ๋ยคอก อัตรา 25 กิโลกรัมต่อดัน และแกลบดิบอัตรา 200 กิโลกรัมต่อไร่ มีอัตราการเจริญเติบโตและไห้ผลผลิตดีที่สุด โดยมี อัตราความสูงที่เพิ่มขึ้นเท่ากับ 70.33 เซนติเมตร มีจำนวนผลเท่ากับ 20 ผลต่อดัน ให้น้ำหนัก ผลผลิตดี ที่สุด เท่ากับ 3,560.00 กิโลกรัมต่อไร่ ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจพบว่า ตำรับที่ : แปลงควบคุม ขาดทุนสุทธิน้อย ที่สุดเท่ากับ - 4659.85 บาทต่อไร่ สำหรับการเปลี่ยนแปลงสมบัติของดินความลึกของดินระดับ 1-15 เซนติมตร พบว่าความอุดมสมบูรณ์ของดินคือ ปริมาณอินทรียวัตถุฟอสฟอรัส และไพแทสเซียม มีค่าเฉลี่ย หลังสิ้นสุดการทคลอง โดยมีแนวใช้มทั้งเพิ่มขึ้นและลดลง ระดับ 15-30 เชนติเมตร มีค่าเฉลี่ยหลังสิ้นสุด การทดลอง โดยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น สมบัติทางกายภาพของดิน คือ ความหนาแน่นรวมเปอร์เซ็นต์ความชื้น คำการนำน้ำของดิน ความลึกของดินระดับ เ-15 เซนติเมตร มีต่ำเฉลี่ยหลังสิ้นสุดการทดลอง โดยมีแนวโน้ม ทั้งเพิ่มขึ้นและลคลง ระดับ 30 เซนติเมตร มีค่าเฉลี่ยหลังสิ้นสุดการทดลอง โดยมีแนวโน้มทั้งเพิ่มขึ้นและลดลง
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดิน
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2551-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมพัฒนาที่ดิน
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ศึกษาการจัดการดินตะกอนชั้นล่างโดยใช้วัสดุปรับปรุงดินอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อปลูกมะละกอ
กรมพัฒนาที่ดิน
30 กันยายน 2553
การจัดการดินโดยใช้พืชบำรุงดิน วัสดุปรับปรุงดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยชีวภาพ พด.12 และปุ๋ยเคมี ร่วมกับการปลูกต้นเหมียงเป็นพืชแซมยางพารา ในกลุ่มชุดดินที่ 45 การปรับสภาพพื้นที่ร่วมกับการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวจัดในชุดดินรังสิต โดยการใช้วัสดุปรับปรุงดินผสานกับเทคโนโลยีชีวภาพ เพื่อทำเกษตรอินทรีย์ที่ปลูกพืชแบบผสมผสาน การใช้ปุ๋ยพืชสดร่วมกับวัสดุปรับปรุงดินเพื่อปรับสภาพดินกรดที่ใช้ปลูกหอมแดงในจังหวัดศรีสะเกษ การปรับสภาพทางเคมีและความอุดมสมบูรณ์ของดินเปรี้ยวจัดในชุดดินรังสิต ในพื้นที่ร่องน้ำโดยการใช้วัสดุปรับปรุงดินและเทคโนโลยีชีวภาพ เพื่อปลูกข้าวอินทรีย์ (พันธุ์หอมนิล) การจัดการดินด้วยวัสดุปรับปรุงดินบางชนิดเพื่อปลูกผักหวานป่าบนคันดินบริเวณสระน้ำประจำไร่นาในพื้นที่ดินเค็มจังหวัดร้อยเอ็ด ผลของการใช้วัสดุปรับปรุงดินชนิดต่างๆร่วมกับโดโลไมท์ในการปรับปรุง นาข้าวดินกรด ในกลุ่มชุดดินที่ 22 จังหวัดชัยภูมิ การใช้ปุ๋ยเคมีและวัสดุปรับปรุงดินต่อการผลิตหน่อไม้ฝรั่งในพื้นที่ดินเค็ม การปรับโครงสร้างทางกายภาพร่วมกับการใช้วัสดุปรับปรุงดินและผลิตภัณฑ์ทางชีวภาพ (พ.ด.9 และ พ.ด.11 ) ในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัดชุดดินรังสิตเพื่อปลูกพืชผักอินทรีย์) การจัดการดินและปุ๋ยเคมีเพื่อยกระดับการผลิตมันสำปะหลังในภูมิภาคตะวันตกของประเทศไทย ศึกษาอัตราการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยคอกและวัสดุปรับปรุงดินเพื่อปลูกผักในพื้นที่อาศัยน้ำฝน โครงการหลวงหนองหอย

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก