สืบค้นงานวิจัย
การขยายพันธุ์ต้น Tea Tree โดยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
โอฬาร ตัณฑวิรุฬห์, รมณีย์ เจริญทรัพย์, ศาลักษณ์ พรรณศิริ, วีระศรี เมฆตรง (หวังการ), จันทร์วิภา บุญอินทร์ - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชื่อเรื่อง: การขยายพันธุ์ต้น Tea Tree โดยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
ชื่อเรื่อง (EN): Micropropagation of Tea Tree [Melaleuca alternifolia (maiden & Betche)] Cheel.
บทคัดย่อ: การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ Tea tree ทำได้โดยนำข้อจากกิ่งแขนงต้น Tea tree จากแปลงปลูก หรือต้นจากการเพาะเมล็ดในสภาพปลอดเชื้อมาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์ วิธีการฟอกฆ่าเชื้อเมล็ด และตำแหน่งกิ่งจากต้น Tea tree ที่ปลูกในแปลง มีผลต่อเปอร์เซ็นต์การปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ภายหลังการฟอกฆ่าเชื้อ และเปอร์เซ็นต์การแตกยอดใหม่ ส่วนการชักนำยอดจากเนื้อเยื่อต้น Tea tree ทำได้โดยเลี้ยงข้อของเนื้อเยื่อ Tea tree บนอาหารสูตร MS ที่ผันแปรสารเร่งการเจริญเติบโตในกลุ่ม cytokinin ได้แก่ BA, Kinetin, 2iP หรือ TDZ ที่ความเข้มข้นต่างๆ ได้แก่ 0, 0.5 หรือ 1.0 mg/l พบว่าตำแหน่งกิ่งแขนง ความยาวประมาณ 4-6 ซม จากปลายยอด จะให้เปอร์เซ็นต์เนื้อเยื่อสะอาดปราศจากเชื้อจุลินทรีย์ปนเปื้อนภายหลังฟอกฆ่าเชื้อมากที่สุด และให้เปอร์เซ็นต์การแตกยอดใหม่จากข้อมากที่สุด ส่วนข้อเนื้อเยื่อต้น Tea tree คววามยาวประมาณ 1 ซม (มีข้อ 1 ข้อ) เลี้ยงบนอาหารสูตรขยายต้นของ MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 0.5-1.0 mg/l หรือ TDZ ความเข้มข้น 0.5 mg/l จะให้จำนวนยอดแตกใหม่มากที่สุด การชักนำรากจากต้นอ่อน Tea tree ในสภาพปลอดเชื้อ ทำโดยเลี้ยงตายอด (ความยาวประมาณ 1.0-1.5 ซม) บนอาหารสูตร MS ที่ผันแปรสารเร่งการเจริญเติบโตในกลุ่ม auxin ได้แก่ IAA, IBA หรือ NAA ที่ความเข้มข้นต่างๆ ได้แก่ 0, 0.1 หรือ 0.5 mg/l พบว่า IBA ที่ความเข้มข้น 0.1 mg/l สามารถชักนำรากได้ดีที่สุด และทำให้เปอร์เซ็นต์รอดของต้นอ่อนนภายหลังย้ายปลูกดีที่สุดด้วยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ Tea tree ทำได้โดยนำข้อจากกิ่งแขนงต้น Tea tree จากแปลงปลูก หรือต้นจากการเพาะเมล็ดในสภาพปลอดเชื้อมาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์ วิธีการฟอกฆ่าเชื้อเมล็ด และตำแหน่งกิ่งจากต้น Tea tree ที่ปลูกในแปลง มีผลต่อเปอร์เซ็นต์การปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ภายหลังการฟอกฆ่าเชื้อ และเปอร์เซ็นต์การแตกยอดใหม่ ส่วนการชักนำยอดจากเนื้อเยื่อต้น Tea tree ทำได้โดยเลี้ยงข้อของเนื้อเยื่อ Tea tree บนอาหารสูตร MS ที่ผันแปรสารเร่งการเจริญเติบโตในกลุ่ม cytokinin ได้แก่ BA, Kinetin, 2iP หรือ TDZ ที่ความเข้มข้นต่างๆ ได้แก่ 0, 0.5 หรือ 1.0 mg/l พบว่าตำแหน่งกิ่งแขนง ความยาวประมาณ 4-6 ซม จากปลายยอด จะให้เปอร์เซ็นต์เนื้อเยื่อสะอาดปราศจากเชื้อจุลินทรีย์ปนเปื้อนภายหลังฟอกฆ่าเชื้อมากที่สุด และให้เปอร์เซ็นต์การแตกยอดใหม่จากข้อมากที่สุด ส่วนข้อเนื้อเยื่อต้น Tea tree คววามยาวประมาณ 1 ซม (มีข้อ 1 ข้อ) เลี้ยงบนอาหารสูตรขยายต้นของ MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 0.5-1.0 mg/l หรือ TDZ ความเข้มข้น 0.5 mg/l จะให้จำนวนยอดแตกใหม่มากที่สุด การชักนำรากจากต้นอ่อน Tea tree ในสภาพปลอดเชื้อ ทำโดยเลี้ยงตายอด (ความยาวประมาณ 1.0-1.5 ซม) บนอาหารสูตร MS ที่ผันแปรสารเร่งการเจริญเติบโตในกลุ่ม auxin ได้แก่ IAA, IBA หรือ NAA ที่ความเข้มข้นต่างๆ ได้แก่ 0, 0.1 หรือ 0.5 mg/l พบว่า IBA ที่ความเข้มข้น 0.1 mg/l สามารถชักนำรากได้ดีที่สุด และทำให้เปอร์เซ็นต์รอดของต้นอ่อนนภายหลังย้ายปลูกดีที่สุดด้วย
บทคัดย่อ (EN): Micropropagation of tea tree (Melaleuca alternifolia (Maiden & Betche) Cheel) was achieved using stem segments from mature plants grown in the field or in vitro seedings. Surface sterilization methods of seed and position of stem segments from mature plants on percentage of contamination and shoot proliferation were investigated. Shoot multiplication from node of tea tree was induced using various kinds and concentrations of cytokinin (0, 0.5 or 1.0 mg/l of BA, kinetin, 2iP or TDZ). It was found that the best position of stem segments from mature plant was nodes from branching (4-6 cm from the top) which gave the lowest contamination and highest shoot proliferation. Nodes of in vitro culture (1 cm-long contained 1 bud) cultured on MS medium supplemented with BA 0.5-1 mg/l or TDZ 0.5 mg/l were recommended. Root induction from in vitro nodes of tea tree was done by culturing them on MS medium supplemented with various kinds and concentrations of auxin (0, 0.1 or 0.5 mg/l of IAA, IBA or NAA). The results showed that IBA or IAA at concentration of 0.1 mg/l gave the best root induction of both amount and length of root. Further, they affected the higher rate of plant survival after acclimatization too.Micropropagation of tea tree (Melaleuca alternifolia (Maiden & Betche) Cheel) was achieved using stem segments from mature plants grown in the field or in vitro seedings. Surface sterilization methods of seed and position of stem segments from mature plants on percentage of contamination and shoot proliferation were investigated. Shoot multiplication from node of tea tree was induced using various kinds and concentrations of cytokinin (0, 0.5 or 1.0 mg/l of BA, kinetin, 2iP or TDZ). It was found that the best position of stem segments from mature plant was nodes from branching (4-6 cm from the top) which gave the lowest contamination and highest shoot proliferation. Nodes of in vitro culture (1 cm-long contained 1 bud) cultured on MS medium supplemented with BA 0.5-1 mg/l or TDZ 0.5 mg/l were recommended. Root induction from in vitro nodes of tea tree was done by culturing them on MS medium supplemented with various kinds and concentrations of auxin (0, 0.1 or 0.5 mg/l of IAA, IBA or NAA). The results showed that IBA or IAA at concentration of 0.1 mg/l gave the best root induction of both amount and length of root. Further, they affected the higher rate of plant survival after acclimatization too.
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คำสำคัญ:
เจ้าของลิขสิทธิ์: ฐานข้อมูล NRMS
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การขยายพันธุ์ต้น Tea Tree โดยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
30 กันยายน 2551
การเพิ่มประสิทธิภาพการขยายพันธุ์หน้าวัวด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตต้นพันธุ์ดาหลาด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ศึกษาการขยายพันธุ์ผักย่านางด้วยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ โครงการวิจัยการขยายพันธุ์และปรับปรุงพันธุ์พืชโดยใช้เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ผลของสาร 6-benzylaminopurine และ Naphthaleneacetic acid ต่อการชักนำต้นจากตาข้างของหญ้าสายพันธุ์เนเปียร์ โดยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ การขยายพันธุ์ต้นกันเกรา (Fagraea fragrans Roxb.) และพะยอม(Shorea roxburghii G. Don) โดยวิธี seed priming และการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ความพึงพอใจของเกษตรกรต่อต้นพันธุ์กล้วยน้ำว้าที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อของศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดพิษณุโลก (พันธุ์พืชเพาะเลี้ยง) ปี 2546 ในเขตอำเภอบางกระทุ่มและอำเภอบางระกำจังหว โครงการย่อยที่ 3 การขยายพันธุ์หนามแดง (Carissa carandasLinn.) โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและการศึกษาการผลิตสารฟรุคโตโอลิโกแซคคาไรด์ในสภาพเพาะเลี้ยง ศึกษาการชักนำให้มีการสร้างหัวของต้นพันธุ์จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อว่านนางคำ และว่านพญามือเหล็ก การขยายพันธุ์กล้วยหิน(Musa sp..) ด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก