สืบค้นงานวิจัย
การเสริมกรดอะมิโนจำเป็นบางชนิดในสูตรอาหารปลากะพงขาว กุ้งขาวและกุ้งกุลาดำที่มีการใช้โปรตีนพืชในอัตราสูง
ชัชวาลี ชัยศรี, สกนธ์ แสงประดับ, พิเชต พลายเพชร, ปิยารมณ์ คงขึม, ชัชวาลี ชัยศรี, สกนธ์ แสงประดับ, พิเชต พลายเพชร, ปิยารมณ์ คงขึม - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: การเสริมกรดอะมิโนจำเป็นบางชนิดในสูตรอาหารปลากะพงขาว กุ้งขาวและกุ้งกุลาดำที่มีการใช้โปรตีนพืชในอัตราสูง
ชื่อเรื่อง (EN): Supplementation of Some Essential Amino Acids in Diets of Asian Sea Bass, Pacific White Shrimp, and Black Tiger Shrimp Containing High Plant Protein
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การเสริมกรดอะมิโนจ าเป็นบางชนิดในสูตรอาหารปลากะพงขาว Lates calcarifer (Bloch, 1790) กุ้งขาวLitopenaeus vannamei (Boone, 1931) และกุ้งกุลาด า Penaeus monodon (Fabricius, 1798) ที่มีการใช้โปรตีนพืชในอัตราสูง พิเชต พลายเพชร1* ปิยารมณ์ คงขึม2 ธนิกานต์ บัวทอง1 และ สกนธ์ แสงประดับ1 1 ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีอาหารสัตว์น ้าชลบุรี 2 ส่วนบริหารจัดการประมงทะเล กองบริหารจัดการด้านการประมง บทคัดย่อ ศึกษาการเสริมกรดอะมิโนจ้าเป็นชนิดเมไทโอนีนและไลซีนในอาหารปลากะพงขาว กุ้งกุลาด้าและกุ้งขาว ที่แทนที่ ปลาป่นบางส่วนด้วยกากถั่วดาวอินคา กากเมล็ดทานตะวัน สาหร่ายผมนางและสาหร่ายหนาม อาหารทดลองมีทั งหมด 5 สูตร คืออาหารสูตรควบคุม (สูตร 1) และอาหารที่แทนที่ปลาป่น จ้านวน 4 สูตร ได้แก่อาหารที่ไม ่เสริมเมไทโอนีนและไลซีน (สูตร 2) อาหารที่เสริมเมไทโอนีนและไลซีน จนมีปริมาณเท่ากับอาหารสูตรควบคุม (สูตร 3) อาหารที่เสริมเมไทโอนีนและไลซีน ใน อัตราส่วนมากกว่าสูตร 3 เท่ากับ 25% (สูตร 4) อาหารที่เสริมเมไทโอนีนและไลซีนในอัตราส่วนมากกว่าสูตร 3 เท่ากับ 50% (สูตร 5) ตามล้าดับ ในการทดลองที่ 1 เลี ยงปลากะพงขาวขนาดเริ่มต้นประมาณ 10 กรัม ด้วยอาหารสูตรควบคุมที่ใช้ปลาป่น 35% และอาหารที่แทนที่ปลาป่นจ้านวน 4 สูตร (ใช้ปลาป่น 10% และแหล่งโปรตีนพืชรวมกันเท่ากับ 47%) สูตรละ 3 ซ ้า ให้ อาหารแบบกินจนอิ่ม วันละ 3 ครั ง เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ผลการทดลองพบว่าปลาที่เลี ยงด้วยอาหารสูตร 5 มีอัตราการ เจริญเติบโตจ้าเพาะและอัตราแลกเนื อดีกว่าปลาที่เลี ยงด้วยสูตร 2, 3 และ 4 อย่างมีนัยส้าคัญยิ่งทางสถิติ (p0.05)ขณะที่อัตรารอดตายของปลาที่เลี ยงด้วยอาหารทุกสูตรไม ่แตกต่างกัน ทางสถิติ(p>0.05) ในการทดลองที่ 2 เลี ยงกุ้งกุลาด้าขนาดเริ่มต้นประมาณ 1 กรัม ด้วยอาหารสูตรควบคุมที่ใช้ปลาป่น 25% และอาหาร ที่แทนที่ปลาป่นจ้านวน 4 สูตร (ใช้ปลาป่น 10% และแหล่งโปรตีนพืชรวมกันเท่ากับ 42%) สูตรละ 3 ซ ้า ให้อาหารอัตรา 1 % ของน ้าหนักตัว วันละ 3 ครั ง เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ ผลการทดลองพบว่ากุ้งกุลาด้าที่เลี ยงด้วยอาหารทุกสูตรมีอัตราการ เจริญเติบโตจ้าเพาะ อัตราแลกเนื อและอัตรารอดตายไม ่แตกต่างกันทางสถิติ (p>0.05) ส่วนการทดลองที่ 3 เลี ยงกุ้งขาวขนาด เริ่มต้น 0.6 กรัม ด้วยอาหารสูตรควบคุมที่ใช้ปลาป่น 20% และอาหารที่แทนที่ปลาป่นจ้านวน 4 สูตร (ใช้ปลาป่น 5% และ แหล่งโปรตีนพืชรวมกันเท่ากับ 47%) สูตรละ 3 ซ ้า โดยวิธีการให้อาหารและระยะเวลาเลี ยงเหมือนการทดลองกุ้งกุลาด้า ผล การทดลองพบว่ากุ้งขาวที่เลี ยงด้วยอาหารทุกสูตรมีอัตราการเจริญเติบโตจ้าเพาะ อัตราแลกเนื อและอัตรารอดตายไม ่แตกต่าง กันทางสถิติ (p>0.05) ค ำส าคัญ : กรดอะมิโนจ้าเป็น ปลากะพงขาว กุ้งขาว กุ้งกุลาด้า ผู้รับผิดชอบ: *ต. บางพระ อ. ศรีราชา จ. ชลบุรี ๒๐๑๑๐ โทร (๐๓๘) ๓๒๖๕๑๒ โทรสาร (๐๓๘) ๓๑๒๕๓๒, E-mail: pichet28@yahoo.com
บทคัดย่อ (EN): Supplementation of Some Essential Amino Acids in Diets of Asian Sea Bass Lates calcarifer (Bloch, 1790), Pacific White Shrimp (Litopenaeus vannamei (Boone, 1931) and Giant Tiger Shrimp Penaeus monodon (Fabricius, 1798) Containing High Plant Protein Sources Pichet Plaipetch1 , Piyarom KhongKhuem2 Tanikarn Buathong1 and Sakon Sangpradub1 1 Chonburi Aquatic Feed Technology Development and Research Center 2 Marine Fisheries Management Section, Fisheries Management Division Study on supplementation of dietary methionine and lysine for Asian sea bass, Pacific white shrimp and giant tiger shrimp in which dietary fishmeal partly replaced with Sacha peanut, sunflower seed, Gracilaria and Acanthophora, was conducted.Five test diets were a control diet (diet 1) and four fishmeal replacing diets consisted of non-supplemented methionine and lysine diet (diet 2), diet supplemented with methionine and lysine to meet dietary amounts found in control diet (diet 3), diet supplemented with higher methionine and lysine amounts than used in diet 3 by 25% (diet 4) and diet supplemented with higher methionine and lysine amounts than used in diet 3 by 50% (diet 5), respectively. In experiment 1, Asian sea bass with an initial weight of 10 g was fed each diet of 35% fishmeal used control diet and four fishmeal replacing diets (10% fishmeal used and total 47% of plant protein sources included) with three replications. Feeding fish to an apparent satiation three times a day was done for 8 weeks of culture period. The results showed that fish fed diet 5 showed highly significant higher specific growth rate and feed conversion ratio than those of fish fed diet 2, 3 and 4 (p0.05). Non-differences of survival rate were observed among fish fed all test diets (p>0.05) In experiment 2, giant tiger shrimp with an initial weight of 1 g was fed each diet of 25% fishmeal used control diet and four fishmeal replacing diets (10% fishmeal used and total 42% of plant protein sources included) with three replications. Feeding shrimp by 1% of body weight three times a day was done for 8 weeksof culture period. The results showed that non-differences of specific growth rate, feed conversion ratio and survival rate were observed among shrimp fed all test diets (p>0.05). In experiment 3, Pacific white shrimp with an initial weight of 0.6 g was fed each diet of 20% fishmeal used control diet and four fishmeal replacing diets (5% fishmeal used and total 47% of plant protein sources included) with three replications. Same feeding method and culture period tested in giant tiger shrimp were done. The results showed that non-differences of specific growth rate, feed conversion ratio and survival rate were observed among shrimp fed all test diets (p>0.05) Keywords: Essential amino acid, Asian sea bass, Pacific white shrimp, Giant tiger shrimp Corresponding Author*: Baangpra Sub-district, Sri Racha, Chonburi Province 20110 Tel. (038) 326512 Fax (038) 312532 E-mail: pichet28@yahoo.com
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2557-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2559-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเสริมกรดอะมิโนจำเป็นบางชนิดในสูตรอาหารปลากะพงขาว กุ้งขาวและกุ้งกุลาดำที่มีการใช้โปรตีนพืชในอัตราสูง
กรมประมง
30 กันยายน 2559
กรมประมง
การทดลองเลี้ยงกุ้งกุลาดำ (Penaeus monodon Fabricius, 1798) ร่วมกับกุ้งแชบ๊วย (Penaeus merguiensis De Man, 1888) และกุ้งขาวแปซิฟิค (Litopenaeus vannamei Boone, 1931) ในบ่อดิน ด้วยระบบน้ำหมุนเวียน ผลของอาหารที่ใช้โปรตีนจากพืชเป็นแหล่งโปรตีนต่อการเจริญเติบโต อัตราการรอดตาย ประสิทธิภาพการใช้อาหาร และคุณค่าทางโภชนาการของกุ้งขาว Litopenaeus vannamei (Boone, 1931) กุ้งกุลาดํา Penaeus monodon (Fabric การวิจัยรูปแบบโครงการฟาร์มเลี้ยงกุ้งแชบ๊วยแบบพัฒนาโดยใช้ระบบรีไซเคิลผสมผสานกับระบบมีนเกษตร ผลของการเสริม Phytase ต่อการดูดซึมและสะสมแร่ธาตุในกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei Boone, 1931) กุ้งกุลาดํา (Penaeus monodon Fabricius, 1798) และปลากะพงขาว (Lates calcarifer Bloch, 1790) การพัฒนาเทคนิคไบโอเซนเซอร์เพื่อใช้ในการตรวจวินิจฉัยไวรัส WSSV, YHV, TSV, HPV, MBV, IHHNV ในกุ้งขาวและกุ้งกุลาดำ การแทนที่ปลาป่นด้วยวัตถุดิบโปรตีนจากพืชที่มีศักยภาพในอาหารสำหรับกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon (Fabricius, 1798) การใช้เทคโนโลยี bio-flocs ในการเลี้ยงกุ้งขาวและปลานิลแบบผสมผสาน การพัฒนาเทคโนโลยีหลังการจับกุ้งกุลาดำ การใช้ตะกอนน้ำนึ่งปลาทูน่าเป็นสารดึงดูดการกินอาหารที่ใช้พืชเป็นแหล่งโปรตีนหลัก สำหรับเลี้ยงปลากะพงขาว (Lates calcarifer Bloch, 1790) และกุ้งขาว (Litopenaeus vannamei Boone, 1931) ประสิทธิภาพการย่อยโปรตีนจากวัตถุดิบโปรตีนจากพืชในกุ้งกุลาดำ Penaeus monodon (Fabricus, 1798) และปลากะพงขาว Lates calcarifer (Bloch, 1790)

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก