สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาเกี่ยวกับการวิวัฒนาการของตัวอ่อนในไข่ไหม
ภุชงค์ เพชรมนต์ - กรมหม่อนไหม
ชื่อเรื่อง: การศึกษาเกี่ยวกับการวิวัฒนาการของตัวอ่อนในไข่ไหม
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ภุชงค์ เพชรมนต์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ในการฟักเทียมไข่ไหม การเก็บไข่ไหมไว้ในห้องเย็นหลังจากแม่ผีเสื้อวางไข่แล้ว รวมทั้งการเก็บรักษาและการขนส่งมีความสำคัญต่อการฟักออกเป็นตัวของไข่ไหมเป็นอย่างมาก การที่จะทราบว่าระยะไหนของไข่ไหมที่มีความอ่อนแอมากที่สุด ก็จะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติอย่างยิ่ง การศึกษาในเรื่องนี้ก็เพื่อที่จะหาวิธีการที่ดีที่สุด...
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2518
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2518
เผยแพร่โดย: กรมหม่อนไหม
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาเกี่ยวกับการวิวัฒนาการของตัวอ่อนในไข่ไหม
กรมหม่อนไหม
2518
กรมหม่อนไหม
การศึกษาการเจริญเติบโตของตัวอ่อนในไข่ไหมชนิดฟักทันทีและหลังจากเก็บในห้องเย็นระยะเวลาหนึ่งสำหรับพันธุ์ K1 และ K8 อิทธิพลของความเข้มข้นและเวลาที่จุ่มกรดเกลือ ต่างกันต่อการฟักออกเป็นตัวของไข่ไหมชนิด Reishin ของไข่ไหมลูกผสมระหว่างพันธุ์ไทยกับต่างประเทศ ผลของการขนส่งไข่ไหมในเวลาต่างกันต่อเปอร์เซนต์การฟักออกเป็นตัว การเลี้ยงไหมซึ่งได้จากไข่ไหมแบบฟักทันที โดยเปรียบเทียบการเลี้ยงจากไข่ไหมซึ่งใช้ระยะการจุ่มกรดที่ต่างกัน การศึกษาการเจริญเติบโตของตัวอ่อนในไข่ไหมชนิด ฟักทันทีและหลังจากเก็บในห้องเย็นระยะเวลาหนึ่งสำหรับพันธุ์ K และ K8 ศึกษาช่วงระยะเวลาที่เก็บไข่ไหม 5 องศาเซลเซียสหลังจากฟักเทียม แบบ Sokushine ของไข่ไหมชนิดบรรจุกล่อง การเปรียบเทียบการฟักออกเป็นตัวของไข่ไหมชนิด Reishin โดยการใช้วิธีการเก็บรักษาที่ต่างกัน การพัฒนาอุปกรณ์และเทคนิคสำหรับการแช่แข็งไข่และตัวอ่อนโคด้วยวิธี Vitrification การเปรียบเทียบการฟักออกเป็นตัวของไข่ไหมชนิด Reshin โดยการใช้วิธีการเก็บรักษาที่ต่างกัน การทดลองหาความสัมพันธ์ระหว่างช่วงเวลาที่เก็บไข่ไหมในห้องเย็นกับเปอร์เซ็นต์การฟักออกของไข่ไหมโดยไม่ต้องฟักเทียม
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก