สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาชุดตรวจแบบแถบสีสำหรับเชื้อ Vibrio parahaemolyticus และ V. vulnificus
ศิวาพร ลงยันต์ - มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาชุดตรวจแบบแถบสีสำหรับเชื้อ Vibrio parahaemolyticus และ V. vulnificus
ชื่อเรื่อง (EN): Development of strip tests for Vibrio parahaemolyticus and V. vulnificus
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ศิวาพร ลงยันต์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ได้ผลิตโมโนโดลนอลแอนติบอดี (MAb) ต่อ V. parahaemolyticus และ V. vulnificus โดยใช้แบคที่เรียแต่ละชนิดๆ 5 isolates ผสมกันในการปลูกภูมิคุ้มกัน พบว่า MAb ส่วนใหญ่ที่แยกได้จากหนูที่ปลูกภูมิคุ้มกันด้วย V. paraheemolyicus มีความจำเพาะกับ V. parehaemolyticus เฉพาะบางisolate เท่านั้น MAb ที่มีความจำเพาะกว้างมักมีปฏิกิริยาข้าม V. aginolyticus มีเพียง 2 โคลนได้แก่ VP-1189 และ VP 618 ที่สามารถจับกับ V. parahaemolyticus ส่วนใหญ่ได้ ซึ่งเมื่อรวมกันแล้วสามารถจับกับ V parahaemolyticus ได้ทั้งหมด (28 isolates)ส่วนหนูที่ปลูกภูมิคุ้มกันด้วย V. vulniicus ก็เช่นเดียวกัน MAb ส่วนใหญ่จับกับ V. vulnificus ได้เพียง 1-2 isolate มี MAb VV-158 ที่สามารถจับกับ V. vulnificus 5/13 isolate, MAb VV-165 ที่จับ V. vulnificus และ V. alginoyticus ได้ทุกisolate และ MAb VV-100 สามารถจับกับ Vibrio spp. ส่วนใหญ่ได้ ดังนั้นจึงคาดว่าจะสามารถนำMAD เหล่านี้มาพัฒนาชุดครวจแบบแถบสี stip test ได้ 3 ชุดสำหรับดรวจ Vibio ด่างๆ คือ 1) V.parahaemolyticus 2) V. vulnifcus และ V. alginolyticus 3) Vibrio spp. ในขณะนี้กำลังอยู่ในระหว่างดำเนินการผลิต polyclonal antibody (PAb) จำเพาะต่อ Vibro ทั้ง 3 ชนิดและผลิต MAb เพิ่มเดิมเพื่อให้ได้ MAbที่มีความไวและความจำเพาะสูงขึ้นต่อไป
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2551-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาชุดตรวจแบบแถบสีสำหรับเชื้อ Vibrio parahaemolyticus และ V. vulnificus
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
30 กันยายน 2553
เอกสารแนบ 1
ประสิทธิภาพของแบคทีเรียแลกติก ต่อการเจริญเติบโต การรอดตาย และ ปริมาณแบคทีเรีย Vibrio spp.ในลำไส้ของกุ้งขาวแวนนาไมหลังได้รับเชื้อ Vibrio parahaemolyticus ในห้องปฏิบัติการ การใช้เชื้อแบคทีเรีย Rhodopseudomonas และ Azospirillum เป็นปุ๋ยชีวภาพสำหรับข้าว การหาลักษณะเฉพาะของชุมชนแบคทีเรียในลำไส้ในกุ้งกุลาดำและกุ้งขาวแปซิฟิกเมื่อได้รับเชื้อ Vibrio harveyi การยับยั้งเชื้อแบคทีเรียก่อโรคในทางเดินอาหารสัตว์โดยสารสกัดแอนโธไซยานินจาก ซังข้าวโพดไร่สีม่วงและข้าวเมล็ดสีม่วง 4 ชนิด การผลิตเชื้อแบคทีเรียตรึงไนโตรเจนราคาถูกในรูปเชื้อผงเพื่อใช้งานในไร่อ้อย ความไวต่อยาต้านจุลชีพและสภาวะการดื้อยาของเชื้อ Vibrio parahaemolyticus จากกุ้งทะเลที่เป็นโรคและแหล่งน้ำธรรมชาติในพื้นที่เลี้ยงกุ้งทะเลจังหวัดสงขลา การสำรวจเชื้อแบคทีเรียสร้างสารต้านเชื้อราก่อโรคพืชเศรษฐกิจ ณ เขื่อนสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี การเพิ่มมูลค่าของกากมันสำปะหลัง: การปรับปรุงสายพันธุ์แบคทีเรียผลิตกรดแลคติกด้วยการเหนี่ยวนำให้เกิดการกลายพันธุ์และการพัฒนาสภาวะการหมักที่เหมาะสมสำหรับการผลิตกรดแลกติกจากกากมันสำปะหลัง การประเมินประสิทธิภาพของเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์เพื่อควบคุมเชื้อ Sclerotium rolfsii และ Fusarium oxysporum f. sp. lycopersici สาเหตุโรคทางดินของมะเขือเทศ การคัดเลือกเชื้อแบคทีเรียกรดแลคติกที่เหมาะสมจากน้ำพืชหมักเพื่อเป็นเชื้อตั้งต้นในพืชหมัก

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก