สืบค้นงานวิจัย
สภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำจากเครื่องมือประมงพื้นบ้านบริเวณชายฝั่งทะเลอันดามันของไทย
ทัศนีย์ ศุภพฤกษ์, วิทยา พันธะกิจ, สนธยา บุญสุข, กำพล ลอยชื่น, ประพัตร์ แก้วมณี - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: สภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำจากเครื่องมือประมงพื้นบ้านบริเวณชายฝั่งทะเลอันดามันของไทย
ชื่อเรื่อง (EN): Status of marine resources form small scale fishing gear along the Andaman sea coast of Thailand
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การศึกษาสภาวะทรัพยากรสัตว?น้ําจากการประมงพื้นบ?านทางฝ??งทะเลอันดามัน ในระหว?าง เดือนมกราคมถึงธันวาคม ป? 2553 พบเครื่องมือประมงที่ชาวประมงพื้นบ?านใช?หลักๆ ได?แก?อวนจมปู อวนจมกุ?งอวนลอยปลาทูอวนจมปลาเห็ดโคน ลอบปูและลอบหมึก มีแหล?งประมงที่สําคัญบริเวณใกล? เกาะต?างๆ แนวกองหินและปะการัง ตลอดแนวชายฝ??งทะเลอันดามัน ระดับน้ําทะเลลึก 5-25 เมตร โดย การลงแรงประมงของเครื่องมือแต?ละชนิดในแต?ละจังหวัดมีความแตกต?างกัน แต?จะทําการประมงหนาแน?น ในช?วงฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือเหมือนกัน สําหรับอัตราการจับสัตว?น้ําองค?ประกอบชนิดและขนาดของ สัตว?น้ําตลอดจนรายได?จากการทําประมง พบว?าอวนจมปูมีอัตราการจับสัตว?น้ําเฉลี่ย 0.83 กิโลกรัม/อวน 100 เมตร สัตว?น้ําที่จับได?มากและเป?นเป?าหมายหลักคือกลุ?มปูร?อยละ 68.18 โดยชนิดที่จับได?มากคือ ปูม?า ขนาดปูม?าที่จับได?มีขนาดความกว?างกระดองระหว?าง 3.00-20.50 เซนติเมตร (เฉลี่ย 12.67 เซนติเมตร) และมี รายได?เฉลี่ยเหนือต?นทุนเงินสดจากการขายปูม?า 904.69 บาท/เที่ยวอวนจมกุ?งมีอัตราการจับสัตว?น้ําเฉลี่ย 1.40 กิโลกรัม/อวน 100 เมตร สัตว?น้ําที่จับได?มากที่สุดและเป?นเป?าหมายหลักคือกลุ?มกุ?ง ร?อยละ 53.50 ชนิดกุ?งที่ พบมาก คือ กุ?งแชบ?วย ขนาดกุ?งแชบ?วยที่จับได?มีขนาดความยาวตลอดตัวระหว?าง 7.00-22.50 เซนติเมตร (เฉลี่ย 11.49 เซนติเมตร) และมีรายได?เฉลี่ยเหนือต?นทุนเงินสดจากการขายกุ?งแชบ?วย 729.13 บาท/เที่ยว อวนลอยปลาทูมีอัตราการจับสัตว?น้ําเฉลี่ย 3.53 กิโลกรัม/อวน 100 เมตร สัตว?น้ําที่จับได?มากที่สุดและเป?น เป?าหมายหลักคือกลุ?มปลาผิวน้ําร?อยละ 81.05 ชนิดที่พบมากคือ ปลาทูขนาดปลาทูที่จับได?มีขนาดความยาว ตลอดตัวระหว?าง 11.00-24.00 เซนติเมตร (เฉลี่ย 17.14 เซนติเมตร) และมีรายได?เฉลี่ยเหนือต?นทุนเงินสดจาก การขายปลาทู 467.82 บาท/เที่ยวอวนจมปลาเห็ดโคนมีอัตราการจับสัตว?น้ําเฉลี่ย 1.12 กิโลกรัม/อวน 100 เมตร สัตว?น้ําที่จับได?มากที่สุดและเป?นเป?าหมายหลักคือกลุ?มปลาหน?าดิน ร?อยละ 94.36 ชนิดที่จับได?มากคือ ปลาเห็ดโคน ขนาดปลาเห็ดโคนที่จับได?มีขนาดความยาวตลอดตัวระหว?าง 9.00-24.00 เซนติเมตร (เฉลี่ย 15.76 เซนติเมตร) และมีรายได?เฉลี่ยเหนือต?นทุนเงินสดจากการขายปลาเห็ดโคน 1,243.60 บาท/เที่ยวลอบปู มีอัตราการจับสัตว?น้ําเฉลี่ย 0.91 กิโลกรัม/ลอบ 10 ลูก สัตว?น้ําที่จับได?มากที่สุดและเป?นเป?าหมายหลักคือ กลุ?มปูร?อยละ 97.25 ชนิดที่จับได?มากคือ ปูม?าขนาดปูม?าที่จับได?มีขนาดความกว?างกระดองระหว?าง 2.00- 18.00 เซนติเมตร (เฉลี่ย 11.45 เซนติเมตร) และมีรายได?เฉลี่ยเหนือต?นทุนเงินสดจากการขายปูม?า 2,658.35 บาท/เที่ยวลอบหมึกมีอัตราการจับสัตว?น้ําเฉลี่ย 3.98 กิโลกรัม/ลอบ 10 ลูก สัตว?น้ําที่จับได?มากที่สุดและเป?น เป?าหมายหลักคือ กลุ?มปลาหมึกร?อยละ 98.15 ชนิดที่จับได?มากคือ หมึกหอม ขนาดหมึกหอมที่จับได?มีขนาด ความยาวลําตัวระหว?าง 7.50-35.50 เซนติเมตร (เฉลี่ย 17.73 เซนติเมตร) และมีรายได?เฉลี่ยเหนือต?นทุนเงินสด จากการขายหมึกหอม 675.53 บาท/เที่ยว สําหรับอัตราการจับเฉลี่ยตามเขตระยะห?างฝ??งของเครื่องมือประมง พื้นบ?านแต?ละชนิด พบว?าส?วนใหญ?แสดงความแตกต?างที่ไม?ชัดเจน แต?พบว?าการกระจายขนาดสัตว?น้ําจะมีใน สัดส?วนของสัตว?น้ําที่มีขนาดใหญ?มากขึ้นตามระยะห?างฝ??ง
บทคัดย่อ (EN): Study of marine resources status from small scale fisheries in the Andaman Sea Coast of Thailand during January to December 2004. The main types fishing gears in the area included crab gill nets, shrimp trammel nets, Indo-Pacific mackerel gill nets, sand whiting gill nets, crab traps and squid traps. The main fishing grounds were around islands, rock piles and coral reefs and along the coast where the water depth were in the range of 5-25 m. Fishing efforts of each types of gears were different between provinces. However, the fishing efforts of all provinces were similarly high during Northeast Monsoon. The average catch rate of crab gill nets was 0.83 kg/100 m-net. The catch included 68.18 % of crabs. The main catch composition were blue swimming crabs which their carapace widths (CW) were in the range of 3.00-20.50 cm (12.67 cm of average CW). The average return of blue swimming crabs over cash cost was 904.69 bath/trip. The average catch rate of shrimp trammel nets was 1.40 kg/100 m- net. The catch included 53.50 % of shrimps. The main catch composition were banana shrimps which their total lengths (TL) were in the range of 7.00-22.50 cm (11.49 cm of average TL). The average return of banana shrimps over cash cost was 729.13 bath/trip. The average catch rate of Indo-Pacific mackerel gill nets was 3.53 kg/100 m-net. The catch included 81.05 % of pelagic fish. The main catch composition were Indo-Pacific mackerels which their TL were in the range of 11.00-24.00 cm. (17.14 cm of average TL). The average return of Indo-Pacific mackerels over cash cost was 467.82 bath/trip. The average catch rate of sand whiting gill nets was 1.12 kg/100 m-net. The catch included 94.36 % of demersal fish. The main catch composition were sand whitings which their TL were in the range of 9.00-24.00 cm (15.76 cm of average TL). The average return of sand whitings over cash cost was 1,243.60 bath/trip. The average catch rate of crab traps was 0.91 kg/10 traps. The catch included 97.25 % of crabs. The main catch composition were blue swimming crabs which their CW were in the range of 2.00-18.00 cm (11.45 cm of average CW). The average return of blue swimming crabs over cash cost was 2,658.35 bath/trip. The average catch rate of squid traps was 3.98 kg/100 m-net. The catch included 98.15 % of squids. The main catch composition were bigfin reefs which their TL were in the range of 7.50-35.50 cm (17.73 cm of average TL). The average return of squid over cash cost was 675.53 bath/trip. The catch rates of the near shore and the distant fishing grounds were not clearly different. However, it was found that the fish size positively related to the distance from the shore.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554-09-30
เอกสารแนบ: http://dric.nrct.go.th/Search/SearchDetail/291424
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
สภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำจากเครื่องมือประมงพื้นบ้านบริเวณชายฝั่งทะเลอันดามันของไทย
กรมประมง
30 กันยายน 2554
เอกสารแนบ 1
กรมประมง
สภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำบริเวณไหล่ทวีปในทะเลอันดามัน สภาวะการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรสัตว์น้ำจากเครื่องมืออวนล้อมจับในมหาสมุทรอินเดีย สภาวะการทำประมงพื้นบ้านในบริเวณแหล่งอาศัยสัตว์ทะเล บริเวณอ่าวไทยตอนล่าง ทรัพยากรกั้งตั๊กแตนทางฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทย สมุทรศาสตร์การประมงบริเวณแหล่งประมงปลาทูน่าในทะเลอันดามัน สภาวะทรัพยากรสัตว์น้ำในเขตชายฝั่ง 10 ไมล์ทะเล บริเวณอ่าวไทย สภาวะการประมงอวนล้อมจับประกอบแสงไฟตามระยะห่างฝั่ง บริเวณอ่าวไทยตอนล่าง การกำหนดพื้นที่ทำการประมงทะเลให้เหมาะสมกับเครื่องมือประมงและฤดูกาลบริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันออก ทรัพยากรสัตว์ทะเลจากการประมงพื้นบ้านในเขตมาตรการอนุรักษ์สัตว์น้ำทางฝั่งทะเลอันดามัน... สืบสานภูมิปัญญาเครื่องมือประมงพื้นบ้านลุ่มน้ำป่าสักจังหวัดเพชรบูรณ์

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก