สืบค้นงานวิจัย
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเครือข่ายอินแปง บ้านบัว อำเภอกุดบากจังหวัดสกลนคร
ชนินทร์ วะสีนนท์ - มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
ชื่อเรื่อง: การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเครือข่ายอินแปง บ้านบัว อำเภอกุดบากจังหวัดสกลนคร
ชื่อเรื่อง (EN): The Participatory Action Research for Developing of Community Products at Tumbon Aumjan Aumphur Kusuman Changwat Sakon Nakhon
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ชนินทร์ วะสีนนท์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพที่ใช้วิธีวิทยาการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วน ร่วม (Participatory Action Research - PAR) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาความต้องการพัฒนาการ ผลิตและการตลาดของผสิตภัณฑ์ผงนัว ค้นหาแนวทางวิธีการพัฒนาและทำการพัฒนาด้านการ ผลิตและการตลาดตามความต้องการของชุมชนเครื่อข่าย และประเมินผลการพัฒนา โดยใช้ ขั้นตอนการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะ ท้อนผล พื้นที่เป้าหมายในการวิจัย คือ เครือข่ายอินแปงที่บ้านยางโล้นตำบลโคกภู อำเภอกูพาน จังหวัดสกลนคร ประชากรที่เข้า ร่วมการวิจัย ประกอบด้วย ผู้วิจัย จำนวน 4 คน กลุ่มผู้ร่วมวิจัยในท้องถิ่นจำนวน 10 คน และ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล จำนวน 20 คน ระยะเวลาการดำเนินการวิจัย 8 เดือน ผลการวิจัยพบว่าผลิตภัณฑ์ผงนัวมีปัญหาทั้งในด้านการผลิต และด้านการตลาด จึง ทำการเพิ่มตักยภาพในการผสิตโดยการจัดหาเครื่องมือที่เป็นอุปกรณ์ทุ่นแรงสำหรับการเตรียม วัตถุดิบ พร้อมกับการหาแหล่งวัตถุดิบเพิ่มขึ้น และการพัฒนาผสิตภัณฑ์ตัวใหม่ที่เป็นนัวสูตรเจ สำหรับการพัฒนาด้านการตลาดได้ทำการสร้างตราผลิตภัณฑ์ใหม่ การเพิ่มช่องทางการตลาด ผ่านทางเครือข่าย Social Media โดยการทำเว็ปเพ็จผงนัวยางโล้น facebook: ผงนัวยางโล้น การนำเสนอสูตรอาหาร และการสาธิตการประกอบอาหารใน YouTube การออกร้านจำหน่าย ผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาฟื้นบ้าน และการโฆษณาประชาสัมพันธ์ด้วยการติดป้ายโฆษณาป้ายคัด - เอาท์ขนาดใหญ่บริเวณสี่แยกคำเพิ่ม อำเภอภูพาน จังหวัดสกลนคร และปัายประชาสัมพันธ์ ทางเข้ากลุ่มวิสาหกิจ และในการประเมินผล ผู้ร่วมวิจัยมีความพึงพอใจในระดับสูงที่มีทีมผู้วิจัย เข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒ นาผลิตภัณฑ์ วมถึงมียอดขายสูงขึ้นเมื่อเทียบกับระยะเดียวกัน ของปีก่อน
บทคัดย่อ (EN): The objectives of this participatory Action Research-PAR were to study the states of the problems and needs for production and marketing development of seasoning powder product, to investigate the development guidelines and developits production and marketing according to the needs of the networking community and to evaluate its development of planning, acting , observing and reflecting processes. The target area was the Inpang Network at Yangloan village, Phuphan district, Sakonnakorn. The participants were 4 researchers, 10 local researchers and 20 key informants. The duration of the study was 8 months. The results of the study indicated that the problems of the seasoning powder were occurred in its production and marketing. Therefore, it was needed to improve the potential of its production by earning more equipment for saving energy in raw material preparation. Also, it is needed for seeking more raw material resources. The new product was improved to be the vegetarian seasoning powder and the new brand was created for marketing development. Moreover, the increasing marketing channel was provided via Social Media by having Yangloan Webpage and Facebook.The food recipes and demonstrations were done in YouTube.Besides, the local wisdom products selling booths were provided with its public relations of placing big cut out at Kampoem intersection in Phupahan district, Sakonnakoern. The public relation cut out was also placed at the entrance of the enterprise group. Furthermore, the local researchers were satisfied with their participation in the product development processes. Significantly, the selling amount was higher when compared with the same period of last year.
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเครือข่ายอินแปง บ้านบัว อำเภอกุดบากจังหวัดสกลนคร
มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
30 กันยายน 2556
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาความรู้ด้านการสื่อสารการตลาดให้กับผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ในโครงการ “หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์” จังหวัดชลบุรี โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพการผลิตและการตลาดพืชผักในพื้นที่ขยายผลโครงการหลวง การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตพันธุ์ข้าว เพื่อเพิ่มผลผลิตและการสร้างมูลค่าผลิตภัณฑ์ชุมชนในเขตภาคเหนือตอนบน ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาการเพาะปลูกและแปรรูปผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากเฮมพ์ โครงการย่อยที่ ๔: โครงการวิจัยและพัฒนาห่วงโซ่การผลิตและการตลาดเฮมพ์บนพื้นที่สูงภายใต้ระบบการควบคุม โครงการวิจัยเชิงบูรณาการเพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพการผลิตและการตลาดของข้าวบนพื้นที่สูง โครงการย่อยที่ 1: การวิจัยและพัฒนาการผลิตข้าวสำหรับชุมชนบนพื้นที่สูง โครงการวิจัยและพัฒนาการเพาะปลูกและแปรรูปผลิตภัณฑ์จากเฮมพ์ โครงการย่อย 3: การวิจัยและส่งเสริมการผลิตและการตลาดเฮมพ์ภายใต้ระบบการควบคุม การวิจัยเชิงบูรณาการเพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพการผลิตและการตลาดของเสาวรสหวาน บนพื้นที่สูง โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพการผลิตและการตลาดผักอินทรีย์โครงการหลวง โครงการย่อยที่ 2 การปรับปรุงพันธุ์ผักเพื่อระบบเกษตรอินทรีย์ การวิจัยเชิงบูรณาการเพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพการผลิตและการตลาดของอาโวกาโดบนพื้นที่สูง โครงการวิจัยเชิงบูรณาการเพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพการผลิตและการตลาดของข้าวบนพื้นที่สูง โครงการย่อยที่ 3: การศึกษาวิจัยปริมาณการใช้น้ำในแปลงนาข้าวด้วยระบบนาน้ำน้อย

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก