สืบค้นงานวิจัย
โครงการวิจัยและพัฒนาต้นแบบระบบการปลูกพืชตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดอำนาจเจริญ
นิรมล ดำพะธิก - กรมวิชาการเกษตร
ชื่อเรื่อง: โครงการวิจัยและพัฒนาต้นแบบระบบการปลูกพืชตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดอำนาจเจริญ
ชื่อเรื่อง (EN): Research and Development of Plant Production on Organic Agricultural System in the Amnatcharoen Province.
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: นิรมล ดำพะธิก
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: -โครงการวิจัยแลพัฒนาต้นแบบระบบการปลูกพืชตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์จังหวัดอำนาจเจริญมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหาการเพาะปลูกพืชอินทรีย์ที่ประสบปัญหาหลายประการ ที่สำคัญประการแรกคือ ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ การระบาดของโรคแมลงและหลังการเกี่ยวข้าวนาปีเกษตรกรยังปล่อยให้พื้นที่ว่างหลังการทำนา เพื่อให้ได้เทคโนโลยีการผลิตและการพัฒนาระบบการปลูกพืชอินทรีย์ที่เหมาะสมกับพื้นที่จังหวัดอำนาจเจริญให้ได้ตามมาตรฐานการผลิตเกษตรอินทรีย์ ตลอดจนเพื่อพัฒนาเกษตรกรให้มีความปราดเปรื่องเข้าสู่ Smart Farmer ด้านเกษตร ดำเนินการโดยใช้หลักการวิจัยระบบการทำฟาร์ม (Farming Systems Research หรือ FSR) และการพัฒนาเทคโนโลยีแบบมีส่วนร่วม (Participatory Technology Development หรือ PTD) ในสภาพพื้นที่เกษตรกร ดำเนินงานโดยใช้แนวทางกระบวนการแบบมีส่วนร่วม การใช้ไตรโครเดอม่าสามารถแก้ไขปัญหาโรครากเน่าคนเน่ากับผักชีฝรั่งและการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ตามค่าวิเคราะห์ดิน 100% สามารถเพิ่มผลผลิต รายได้ให้กับเกษตรกรพื้นที่ ร้อยละ 20 การระบบการปลูกพืชอินทรีย์หลังนาสามารถลดอัตราการว่างงาน เพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกรหลังการเก็บเกี่ยวข้าว และสามารถพัฒนาเกษตรกรเป็นเกษตรกรต้นแบบสู่ระบบการผลิตตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ได้
บทคัดย่อ (EN): The objective of this project is to solve the problem of growing organic crops that have many problems. The first is. The soil is lacking. The outbreak of insect disease and post-harvest rearing, farmers also leave space after farming. To obtain the technology of production and development of organic farming system suitable for Amnat Charoen province to meet the standards of organic farming. To develop farmers to be politically integrated into Smart Farmer, agriculture is implemented using the farming systems research (FSR) and participatory technology development. Participatory Technology Development (PTD) Operate using a participatory process approach. The use of Trichoderma sp. can solve the root rot disease problem with parsley and the use of organic fertilizer based on 100% soil analysis can increase yield. Revenue to farmers 20 percent. The organic cropping system can reduce the unemployment rate. Increase income for farmers after harvest. Farmers can be developed as prototype farmers into organic production systems.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2557-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2560-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมวิชาการเกษตร
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
โครงการวิจัยและพัฒนาต้นแบบระบบการปลูกพืชตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดอำนาจเจริญ
กรมวิชาการเกษตร
30 กันยายน 2560
โครงการวิจัยและพัฒนาต้นแบบระบบการปลูกพืชตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา โครงการวิจัยและพัฒนาต้นแบบระบบการปลูกพืชตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี โครงการวิจัยและพัฒนาต้นแบบระบบการปลูกพืชตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม โครงการวิจัยและพัฒนาต้นแบบระบบการปลูกพืชตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์ วัชพืชในระบบการปลูกพืช โครงการวิจัยและพัฒนาต้นแบบระบบปลูกพืชตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด โครงการวิจัยและพัฒนาต้นแบบระบบการปลูกพืชตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์ โครงการวิจัยการศึกษาผลกระทบของสิ่งแวดล้อมในระบบเกษตรอินทรีย์ โครงการวิจัยการศึกษาเทคนิคทางสถิติเพื่อใช้เป็นมาตรฐานสำหรับแปลงทดลองพืชผัก การศึกษาวิจัยและพัฒนาระบบเกษตรอินทรีย์ จังหวัดกาฬสินธุ์

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก