สืบค้นงานวิจัย
ผลของสารสกัดจากสาหร่ายสไปรูไลนาต่อการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียก่อโรค Vibrio parahaemolyticus และ V. harveyi ในกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei Boone, 1931)
อมรรัตน์ อุตสาหะ - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ผลของสารสกัดจากสาหร่ายสไปรูไลนาต่อการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียก่อโรค Vibrio parahaemolyticus และ V. harveyi ในกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei Boone, 1931)
ชื่อเรื่อง (EN): Effect of Spirulina platensis extract against pathogenic bacteria Vibrio parahaemolyticus and V. harveyi in white shrimp
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อมรรัตน์ อุตสาหะ
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Amornrath Autsaha
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: ธีญาภรณ์ แก้วทวี*
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): Teeyaporn Keawtawee
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาผลของสารสกัดจากสาหร่ายสไปรูไลนา (Spirulina platensis) ในตัวทำละลายอะซีโตน, เมทานอล, เอธานอล และเฮกเซน กับสารโพลีไวนิลไพโรลิโดน ในการยับยังและฆ่าเชื้อแบคทีเรียชนิด Vibrio parahaemolyticus และ V. harveyiในห้องปฏิบัติการ พบว่า สารสกัดในตัวทำละลายเอทานอล ที่ความเข้มข้น 20 มิลลิกรัมมิลลิลิตร สามารถยับยังเชื้อ V.parahaemolyticus ได้ดีที่สุด โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลางวงใส เท่ากับ 11.3 + 1.2 มิลลิมตร และ สารสกัดในตัวทำละลายอะซิโตน ความเข้มข้น 1 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร สามารถยับยั้ง เชื้อ V. harveyi ได้ดีที่สุด โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลางวงใส เท่ากับ 12.0 + 0.5 มิลลิเมตร ส่วนค่าความเข้มข้นต่ำ สุดที่สามารถยับยั้งเชื้อ V. parahaemolyticus และ V. harveyi คือ สารสกัดในตัวทำละลายเฮกเซนที่ความเข้ม ข้น 2.5 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร และสารสกัดในตัวทำละลายอะซี่โตนและเฮกเซน ความเข้มข้น 1 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร ตามลำดับ นอกจากนี้ ความเข้มข้น 20 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร ของสารสกัดในทุกตัวทำละลาย เป็นความเข้มข้น ต่ำสุดที่สามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรียทั้งสองชนิดนี้
บทคัดย่อ (EN): Study on the effect of Spirulina platensis extract in acetone, methanol, ethanol and hexane solvents with polyvinylpyrolidone on inhibition effect of Spirulina extract in vitro against Vibrio parahemolyticus and V. harveyi was carried out in laboratory. Results showed that, the highest clear zone (11.3 ± 1.2 mm) was observed in ethanol extracts (20 mg/mL) against V. parahaemolyticus and in acetone extracts (1 mg/mL) against V. harveyi (12.0±0.5 mm). The minimum inhibitory concentration (MIC) of S. platensis extracts in hexane solvent against V. parahaemolyticus was 2.5 mg/mL and MIC of S. platensis extracts in acetone and hexane solvents against V. harveyi was 1 mg/ mL. Furthermore, the minimum bactericidal concentration (MBC) of crude extracts in all solvents was 20 mg/mL against both bacterial species.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2561
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2562
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=714.pdf&id=3730&keeptrack=7
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของสารสกัดจากสาหร่ายสไปรูไลนาต่อการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียก่อโรค Vibrio parahaemolyticus และ V. harveyi ในกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei Boone, 1931)
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2562
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
ผลของสารสกัดจากสาหร่ายสไปรูไลนาต่อการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียก่อโรค Vibrio parahaemolyticus และ V. harveyi ในกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei Boone, 1931) ผลของการเสริมสาหร่ายสไปรูไลนาในอาหารต่อการเจริญเติบโตและความต้านทานโรคที่เกิดจากเชื้อ Vibrio parahaemolyticus ในกุ้งขาวแวนนาไม ผลของโพรไบโอติก Bacillus subtilis ต่อการควบคุม Vibrio spp. และอัตรารอดตายในการอนุบาลลูกกุ้งขาวแวนนาไม (Litopenaeus vannamei) ประสิทธิภาพของสารประกอบบริสุทธิ์จากแบคทีเรีย Xenorhabdus และ Photorhabdus ในการยับยั้งแบคทีเรียที่ก่อโรคในคน ผลของสารสกัดจากพืชแต่งสีอาหารต่อการยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรียในอาหาร การศึกษาฤทธิ์ของน้ำมันหอมระเหยและสารสกัดจาก Zanthozylum limonella Alston และ Zanthoxylum rhetsa (Roxb.) DC ในการยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียก่อโรคจากอาหาร การสกัดสารยับยั้งเชื้อแบคทีเรียจากอัญชัน และการศึกษาโครงสร้างเชิงโมเลกุลด้วยแบบจำลองคอมพิวเตอร์โดยอาศัยทฤษฎีควอนตัม ผลของจุลินทรีย์อีเอ็มต่อการเจริญเติบโตของกุ้งขาวแวนนาไม ผลการต้านจุลชีพของแบคทีเรียกรดแลคติกต่อเชื้อจุลชีพก่อโรค ผลของพืชสมุนไพรต่อการยับยั้งแบคทีเรีย Aeromonas hydrophila ที่ก่อให้เกิดโรคในปลาดุกลูกผสม

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก