สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาการมีส่วนร่วมและการสร้าง ความเข้มแข็งองค์กรผู้ใช้น้ำในการบริหารจัดการชลประทาน โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่แฝก-แม่งัด อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
สรวิชญ์ ทิพรัตนเดช - กรมชลประทาน
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาการมีส่วนร่วมและการสร้าง ความเข้มแข็งองค์กรผู้ใช้น้ำในการบริหารจัดการชลประทาน โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่แฝก-แม่งัด อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง (EN): Participatory Development and Water User Organization Empowerment in Irrigation Management of Mae Faek - Mae Ngat Operation and Maintenance Project, Sansai District, Chiang Mai
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สรวิชญ์ ทิพรัตนเดช
บทคัดย่อ: การวิจัยครัง้ นี้ได้ศึกษาการพัฒนาการมีส่วนร่วมและการสร้างความเข้มแข็งองค์กรผู้ใช้ น้าในการบริหารจัดการชลประทาน ของฝ่ายส่งน้าและบา รุงรักษาที่ 2 โครงการส่งน้าและบา รุงรักษาแม่แฝก-แม่งัด อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมและปัจ จัยที่มีผลต่อการ พัฒนาการมีส่วนร่วมและการสร้างความเข้มแข็งองค์กรผู้ใช้น้าในการบริหารจัดการชลประทาน 2) เพื่อการ พัฒนาการมีส่วนร่วมและการสร้างความเข้มแข็งองค์กรผู้ใช้น้าในการบริหารจัดการชลประทาน โดยการใช้ กระบวนการสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรผู้ใช้น้าชลประทาน 3) เพื่อเสนอรูปแบบของการพัฒนาการมีส่วนร่วม และการสร้างความเข้มแข็งองค์กรผู้ใช้น้าในการบริหารจัดการชลประทาน และ 4) เพื่อศึกษาปัญ หา อุปสรรค และ แนวทางแก้ไขการพัฒนาการมีส่วนร่วมและการสร้างความเข้มแข็งองค์กรผู้ใช้น้าในการบริหารจัดการชลประทาน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย องค์กรผู้ใช้น้าชลประทานของฝ่ายส่งน้าและบา รุงรักษาที่ 2 โครงการสง่ น้า และบารุงรักษาแม่แฝก-แม่งัด อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ จานวน 1,360 คน ขนาดกลุ่มตัวอย่างมีจานวน 309 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างของเจ้าหน้าที่ชลประทาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานราชการและ นักวิชาการ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่มย่อย( Focus Group Discussion) เทคนิค A-I-C (Appreciation Influence Control) วิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participation Action Research: PAR) การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์การถดถอยพหุแบบ เชิงชัน้ และการจัดหมวดหมู่เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า องค์กรผู้ใช้น้าชลประทานส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 52.39 ปี มีสถานภาพ สมรส/อยู่ด้วยกัน ร้อยละ 81.23 จบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ป.1-ป.6) ร้อยละ 82.20 จานวนสมาชิกใน ครอบครัวเฉลี่ย 3.35 คน ร้อยละ 60.60 มีอาชีพรองคือรับจ้างร้อยละ 85.44 มีการถือครองที่ดินเป็นของตนเอง เฉลี่ย 2.10 ไร่ การถือครองที่ดินโดยการเช่าเฉลี่ย 4.48 ไร่มีจานวนพื้นที่ที่ทาการเกษตรเฉลี่ย 6.51 ไร่ ทา การเกษตรโดยการปลูกข้าวโดยมีรายได้ภาคการเกษตรเฉลี่ย 49,081.22 บาทต่อปี รายได้นอกภาคการเกษตร เฉลี่ย 8,153.72 บาทต่อปี และมีรายได้รวมทัง้ หมดเฉลี่ย 57,181.55 บาทต่อปี 121 ผลการศึกษาการพัฒนาการมีส่วนร่วมและการสร้างความเข้มแข็งองค์กรผู้ใช้น้าในการบริหารจัดการ ชลประทาน พบว่า องค์กรผู้ใช้น้าชลประทานมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการชลประทานโดยรวมอยู่ในระดับปาน กลาง (ค่าเฉลี่ย 2.72) ผลการวิเคราะห์การถดถอยพหุแบบเชิงชั้น พบว่า ประสบการณ์ในด้านชลประทาน การ ได้รับการสร้างความเข้มแข็ง การสัมมนา และการติดต่อเจ้าหน้าที่ชลประทาน มีความสัมพันธ์อย่างนัยสา คัญทาง สถิติที่ระดับ 0.01 กับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการชลประทาน ผลการศึกษาการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่ ชลประทาน พบว่าการมีส่วนร่วมโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย 3.00) ผลการศึกษาพบว่าการพัฒนาการมีส่วนร่วมและการสร้างความเข้มแข็งองค์กรผู้ใช้น้าในการบริหารจัดการ ชลประทาน มาจากผลการวิเคราะห์ปัญหาความต้องการของกลุ่มเป้าหมายทั้ง 3 ระดับ ได้แก่ 1) องค์กรผู้ใช้น้า ชลประทาน 2) กลุ่มบริหารการใช้น้าชลประทาน และ 3) เจ้าหน้าที่ชลประทาน / กรมชลประทาน นามาสู่การสร้าง ความเข้มแข็งและการแลกเปลี่ยนแนวทางการบริหารจัดการชลประทานเชิงบูรณาการ และการวางแผนพัฒนา ระบบการบริหารจัดการชลประทานแบบมีส่วนร่วม ทัง้ นี้มีโครงการปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมดังนี้ 1) โครงการขุด ลอกคลองส่งน้า 2) โครงการซ่อมแซมอาคารชลประทาน และ 3) โครงการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ การฟื้นฟูและการ สร้างความเข้มแข็งศักยภาพขององค์กรผู้ใช้น้าชลประทาน รูปแบบของการพัฒนาการมีส่วนร่วมและการสร้างความเข้มแข็งองค์กรผู้ใช้น้าในการบริหารจัดการ ชลประทาน นาเสนอรูปแบบเป็นวงกลม ระบบการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการชลประทานแบบวงกลมหมุนตาม เข็มนาฬิกาแบบเชิงบูรณาการ มีการปฏิบัติงานเป็น 3 ขัน้ ตอน 1) ระบบการบริหารจัดการก่อนการส่งน้ามี 4 กิจกรรม 2) ระบบการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการระหว่างการสง่ น้ามี 4 กิจกรรม และ 3) ระบบการมีส่วนร่วมใน การบริหารจัดการสิ้นสุดการส่งน้ามี 4 กิจกรรม เพื่อนาไปใช้กับการพัฒนาการมีส่วนร่วมและการสร้างความ เข้มแข็งองค์กรผู้ใช้น้าในการบริหารจัดการชลประทานต่อไป การศึกษาปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขการพัฒนาการมีส่วนร่วมและการสร้างความเข้มแข็งองค์กร ผู้ใช้น้าในการบริหารจัดการชลประทาน พบว่า องค์กรผู้ใช้น้าชลประทานมีปัญหาในเรื่องการขาดความรู้ ความ เข้าใจ กระบวนการการบริหารจัดการชลประทาน และต้องการได้รับการสร้างความเข้มแข็ง ทั้งนี้เพราะผู้ใช้น้า ชลประทานจะใช้เวลาอยู่กับการทา การเกษตรเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งองค์กรผู้ใช้น้าชลประทานได้ให้ข้อเสนอแนะว่า ควร ให้มีการใช้กระบวนการสร้างความเข้มแข็งให้องค์กรผู้ใช้น้าชลประทานให้มีความรู้การมีส่วนร่วมในการบริหาร จัดการชลประทานอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง และให้ความสำคัญการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการชลประทานอย่าง ต่อเนื่อง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
เผยแพร่โดย: สำนักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน
คำสำคัญ:
หมวดหมู่: อื่นๆ
หมวดหมู่ AGRIS: C การศึกษา การส่งเสริม และการเผยแพร่ (Education, extension, and advisory work)
เจ้าของลิขสิทธิ์: กรมชลประทาน
รายละเอียด: Submitted by รดา รุจณรงค์ กรมชลประทาน (rada_ru@rid.go.th) on 2018-06-26T06:31:29Z No. of bitstreams: 1 พัฒนาการมีส่วนร่วม.pdf: 447792 bytes, checksum: 939f7ef692916ef1fa1c76b296895652 (MD5)
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาการมีส่วนร่วมและการสร้าง ความเข้มแข็งองค์กรผู้ใช้น้ำในการบริหารจัดการชลประทาน โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่แฝก-แม่งัด อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
สำนักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน
ไม่ระบุวันที่เผยแพร่
กรมชลประทาน
การพัฒนาการมีส่วนร่วมและการสร้างความเข้มแข็งองค์กรผู้ใช้น้ำในการบริหารจัดการชลประทาน โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่แฝก-แม่งัด อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ การบริหารจัดการชลประทานโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม ชุด 2 การบริหารจัดการชลประทานโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม ด้านการส่งน้ำและบำรุงรักษา (VDO) การบริหารจัดการชลประทานโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม ด้านการส่งน้ำและบำรุงรักษา การบำรุงรักษาโดยกลุ่มผู้ใช้น้ำชลประทาน การพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการน้ำในพื้นที่รับน้ำโครงการส่งน้ำ และบำรุงรักษาแม่แฝก-แม่งัด (ฝ่ายส่งน้ำและบำรุงรักษาที่ 2) ก้าวสู่ความสำเร็จการบริหารจัดการชลประทาน โดยเกษตรกรมีส่วนร่วม โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษากระเสียว จังหวัดสุพรรณบุรี การวิเคราะห์ค่าลงทุนเพื่อการจัดสรรน้ำของโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษา กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในระยะกำหนดโครงการของการพัฒนาแหล่งน้ำชลประทาน กรณีศึกษาลุ่มน้ำแม่แรก อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ คณะกรรมการจัดการชลประทาน
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก