สืบค้นงานวิจัย
กระบวนการการพัฒนาผู้นำและชุมชนกับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืนชุมชนเมืองคอง อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่
เอกพิชญ์ ขินะข่าย - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: กระบวนการการพัฒนาผู้นำและชุมชนกับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืนชุมชนเมืองคอง อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่
ชื่อเรื่อง (EN): The Process of Leader and Community Participation in Sustainable Ecotourism management in Moung Kong A. Chiang down, Chiang Mai
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: เอกพิชญ์ ขินะข่าย
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Ekapit Chinakai
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN): Leadership
บทคัดย่อ: ากกระแสโลกภิวัตน์ ที่ก่อให้เกิดการข้ามวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายจึงนามาสู่ การเปลี่ยนแปลงของการท่องเที่ยวในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ที่มุ่งเน้นในการ เรียนรู้ถึงสภาพของวัฒนธรรมและทรัพยากรทางธรรมชาติ จากสภาพทางภูมิศาสตร์ของชุมชน เมืองคอง จะเห็น ได้ว่าชุมชนเมืองคองเป็นชุมชนที่อยู่บริเวณรอยต่อของแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญ รอบ ๆ อีกทั้งความหลากหลายทางชาติพันธุ์ ที่อยู่รวมกันและที่สาคัญความอุดมสมบูรณ์ทาง ธรรมชาติอยู่มาก จึงนามาสู่การวิจัยในชิ้นนี้ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อต้องการทราบถึงบทบาทและศักยภาพของผู้นา ทั้งที่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการ ตลอดจนชุมชนต่อการบริหารจัดการด้านการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ และศึกษาถึง สภาพการท่องเที่ยว ในชุมชนทางด้านการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การดาเนินการวิจัยในครั้งนี้อาศัย แนวความคิด ทฤษฏีเกี่ยวกับผู้นา การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ แนวความคิดในการพัฒนาการมีส่วนร่วม เป็นกรอบในการศึกษา และใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย ตลอดจนการสัมภาษณ์เชิงลึก และการเสวนา หาแนวทางร่วมกันบนฐานการมีส่วนร่วมของชุมชนผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่าภาวะผู้นาขององค์การบริหารส่วนตาบลเมืองคองยังมีบทบาทและ พลังที่สาคัญอย่างมากในการบริหารจัดการ ซึ่งอาศัยความผูกพันทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ นอกจากนั้น ยังได้มีแผ่นแม่บทเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการรองรับบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เพื่อเชื่อมโยงเส้นทางการท่องเที่ยวจากจุดสาคัญ อีกทั้งยังสามารถช่วยให้ผู้นาได้ตระหนักถึงบทบาทของตนเอง ในการเพิ่มและพัฒนาศักยภาพในด้านวิชาการเกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
บทคัดย่อ (EN): From the globalization created the diversity crossing cultures. It brings to the changing of tourism especially eco-tourism that aim to gained the knowledge of ways of life and cultures in each locality that has their own identity. As well as, Moung Kong community located between an important tourism spots. In Moung Kong has a multi ethnics whom live together also it still has a pure and richness of natural resources. The location of Moung Kong community which connected to another tourism route in Chiang Mai and Mae Hoong Son that straight the research points as follow: to understand the role and potential of leader that included formal and informal leader also people in eco-tourism management, and eco-tourism circumstances in their community. On this research used the concepts and theories in leadership, ecology sustainable tourism, community right, participation development, and potential theories that framed to study. Moreover, our team used in-depth interviews and questionnaire based on community participation. The research found the formal leader ( Moung Kong administrative) is the important role and has a power to management that manipulate from personal, formal role, and supplementary from communities and informal leaders. Moreover, the research created the master plan which is a tools for eco-tourism management. Also increasing leaders and communities potential on academic, management, and realize on their role in each of them that can impact to communities and environment. Finally, the communities will has an eco-tourism routes where connected to Moung Kong district that will be an eco-tourism routes clusters in northern Thailand.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: วิทยาลัยบริหารศาสตร์
เลขทะเบียนวิจัยกรม: มจ.1-53-030
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
เลขทะเบียนวิจัยแหล่งทุน: มจ.1-53-030
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ดำเนินการวิจัยเอง
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 157,000
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2553
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยประยุกต์
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
กระบวนการการพัฒนาผู้นำและชุมชนกับการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืนชุมชนเมืองคอง อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2553
โครงการศึกษาการบริหารจัดการศัตรูพืชของชุมชน ศึกษาและพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ในชุมชนนาป้อ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านหม้อ ต.ป่าไผ่ อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ แนวทางพัฒนาการจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืนแบบมีส่วนร่วมของชุมชน จังหวัดนนทบุรี โครงการศึกษาการบริหารจัดการศัตรูพืชของชุมชน การบริหารจัดการผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรของชุมชนเพื่อสร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืนให้กับคนในท้องถิ่น การส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตข้าว เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน การศึกษาบริบทชุมชนเพื่อการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ : กรณีศึกษา พื้นที่เพาะปลูกมะม่วงน้ำดอกไม้สีทอง ตำบลดงมูลเหล็ก อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ การศึกษาปัจจัยในการมีส่วนร่วมของชุมชนต่อโครงการจัดการทรัพยากรประมง บริเวณอ่างเก็บน้ำทับทิมสยาม 01 จังหวัดตราด กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพการจัดการเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ วิสาหกิจชุมชน อาเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่.

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก