สืบค้นงานวิจัย
การสำรวจและวินิจฉัยโรคไหมในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างเพื่อ การป้องกันกำจัด
เบ็ญจมาศ แก้วรัตน์ - กรมหม่อนไหม
ชื่อเรื่อง: การสำรวจและวินิจฉัยโรคไหมในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างเพื่อ การป้องกันกำจัด
ชื่อเรื่อง (EN): Survey and diagnosis of silkworm diseases for their control in the Lower North-Eastern region
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: เบ็ญจมาศ แก้วรัตน์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Benjamat Kaewrat
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
หมวดหมู่:
หมวดหมู่ AGRIS: A50 การวิจัยทางการเกษตร (Agricultural research)
บทคัดย่อ: เกษตรกรในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างของประเทศไทยมีการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม (Bombyx mori L.) ค่อนข้างมาก แต่ยังประสบปัญหาไหมเป็นโรคตายส่งผลให้ได้ผลผลิตค่อนข้างต า งานวิจัยนี้จึงได้ส ารวจและวินิจฉัยเชื้อ สาเหตุ ลักษณะอาการของไหมที เป็นโรค โดยเก็บตัวอย่างไหมที มีลักษณะผิดปกติในพื้นที รับผิดชอบของศูนย์หม่อนไหม เฉลิมพระเกียรติฯ จ านวน 6 ศูนย์ ได้แก่ อุบลราชธานีศรีสะเกษ สุรินทร์บุรีรัมย์นครราชสีมา และสระบุรีโดยเก็บ ตัวอย่างครอบคลุมทั้ง 3 ฤดูกาล (ร้อน ฝน หนาว) รวบรวมได้จ านวน 505 ตัวอย่าง ตรวจวินิจฉัย แยกเชื้อสาเหตุ และ จัดจ าแนกโดยอาศัยลักษณะทางสัณฐานวิทยาได้จ านวน 270 ไอโซเลต ได้แก่ เชื้อไวรัส Nucleopolyhedrovirus สาเหตุโรคแกรสเซอรี ซึ งพบมากที สุดจ านวน 119 ไอโซเลต รองลงมาคือเชื้อแบคทีเรียจ านวน 110 ไอโซเลต ซึ งแยก เป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มเชื้อแบคทีเรียที คาดว่าเป็นสาเหตุโรคซอทโต้จ านวน 73 ไอโซเลต กลุ่มเชื้อแบคทีเรียที คาดว่าเป็น สาเหตุโรคเลือดเป็นพิษจ านวน 23 ไอโซเลต และกลุ่มเชื้อแบคทีเรียอื นๆ ที คาดว่าเป็นสาเหตุโรคแฟลคเชอรี (โรค โดยรวมของเชื้อแบคทีเรีย) จ านวน 14 ไอโซเลต และเชื้อรา ซึ งพบเฉพาะเชื้อ Aspergillus flavus สาเหตุโรค แอสเปอร์จิลลัสจ านวน 39 ไอโซเลต และเชื้อโปรโตซัว Nosema bombycis N. สาเหตุโรคเพบรินจ านวน 2 ไอโซเลต โดยทุกเชื้อตรวจพบกระจายอยู่ในทุกจังหวัดที ส ารวจและมากที สุดในฤดูฝนซึ งเป็นพันธุ์ไหมที เกษตรกรได้รับทั้งจาก ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯ และพันธุ์ไหมไทยพื้นบ้านที เกษตรกรเลี้ยงต่อพันธุ์เอง ยกเว้นเชื้อโปรโตซัว ตรวจพบ เฉพาะจังหวัดบุรีรัมย์ในฤดูฝนและพบเฉพาะในไหมพันธุ์ไทยพื้นบ้านที เกษตรกรเลี้ยงต่อพันธุ์เองเท่านั้น ผลการวิจัยนี้ จะท าให้ทราบถึงแหล่งแพร่ระบาด หลักการวินิจฉัยที ถูกต้อง น าไปสู่การป้องกันก าจัดได้ทันเวลา อีกทั้งสามารถน าไอ โซเลตของเชื้อที ได้ไปศึกษาต่อยอดเพื อพัฒนาการตรวจวินิจฉัยที รวดเร็วแม่นย าขึ้นได้
บทคัดย่อ (EN): Abstract is in the attached file.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: สำนักพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีหม่อนไหม
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2557
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2559
เอกสารแนบ: https://qsds.go.th/newosrd/wp-content/uploads/sites/115/2019/07/2561-12.pdf
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมหม่อนไหม
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
รายละเอียด: Submitted by Admin กรมหม่อนไหม (qsds@tarr.arda.or.th) on 2020-03-26T10:01:20Z No. of bitstreams: 1 license_rdf: 811 bytes, checksum: 53b05846eb6eeb1c33891ab08e36a383 (MD5)
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การสำรวจและวินิจฉัยโรคไหมในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างเพื่อ การป้องกันกำจัด
กรมหม่อนไหม
2559
เอกสารแนบ 1
กรมหม่อนไหม
การศึกษาแนวทางของการพัฒนาความรู้ในการป้องกันกำจัดโรคของเกษตรกร การสำรวจโรคเพบบรินในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การยับยั้งการเพิ่มจำนวนไวรัสนิวคลีโอโพลีฮีโดร (NPV) ของไหม โดยใช้ double-strand RNA interference การศึกษารูปแบบที่เหมาะสมการเลี้ยงหมูหลุม ของเกษตรกรในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง สถานการณ์โรคและแมลงศัตรูของยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและการจัดการ การทดสอบปุ๋ยกับหอมแดงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การวิจัยและพัฒนาศักยภาพยางพาราสำหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สำรวจรวบรวมผักพื้นเมืองทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การใช้ประโยชน์ของดินชุดยโสธรเพื่อการเกษตรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การใช้โพลีไวนิลแอลกอฮอล์ในการแก้ไขดินเค็มภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนที่ 1 : การทดลองในห้องปฏิบัติการ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก