สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาชนิดและปริมาณกรดไขมันในหญ้ารูซี่ หญ้ากินนีสีม่วง หญ้าแพงโกล่า หญ้ากินีมอมบาซ่า และหญ้าเนเปียร์แคระ
อุดร ศรีแสง - กรมปศุสัตว์
ชื่อเรื่อง: การศึกษาชนิดและปริมาณกรดไขมันในหญ้ารูซี่ หญ้ากินนีสีม่วง หญ้าแพงโกล่า หญ้ากินีมอมบาซ่า และหญ้าเนเปียร์แคระ
ชื่อเรื่อง (EN): The Study on Fatty Acids Profile of Brachiaria ruziziensis , Panicum maximum TD 58, Digitaria erlantha and Pennisetum purpureum .
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อุดร ศรีแสง
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาชนิดและปริมาณกรดไขมันใน หญ้ารูซี่ หญ้ากินนีสีม่วง หญ้าแพงโกลา หญ้ากินนีมอมบาซา และหญ้าเนเปียร์แคระ ศศิพร ช่อล ำไย1/ อุดร ศรีแสง1/ แพรวพรรณ เครือมังกร2/ บทคัดย่อ ศึกษำชนิดและปริมำณกรดไขมันในหญ้ำอำหำรสัตว์ 5 ชนิด ได้แก่หญ้ำรูซี่ (Brachiaria ruziziensis) หญ้ำ กินนีสีม่วง (Panicum maximum TD 58) หญ้ำกินนีมอมบำซำ (P. maximum cv Mombaza) หญ้ำแพงโกลำ (Digitaria erlantha) และ หญ้ำเนเปียร์แคระ (Pennisetum purpureum cv. Mott) ท ำกำรตัดที่อำยุ 45 วัน ในรอบ 1 ปี รวม 5 ครั้ง ด ำเนินกำรที่ศูนย์วิจัยและพัฒนำอำหำรสัตว์นครรำชสีมำ อ ำเภอปำกช่อง จังหวัด นครรำชสีมำ ระหว่ำงเดือนพฤษภำคม 2554–กันยำยน 2555 ผลกำรทดลองพบว่ำ หญ้ำทั้ง 5 ชนิด มีชนิดกรดไขมันหลักเหมือนกันคือ C16:0 , C18:2n6 และ C18:3n3 ส่วนกรดไขมันชนิดอื่นๆ พบในปริมำณน้อย และพบ C18:3n3 มีปริมำณมำกที่สุด ในหญ้ำรูซี่ กินนีสีม่วง แพงโก ลำ กินนีมอมบำซำ และเนเปียร์แคระ ปริมำณ C18:3n3 มึค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ 44.74, 20.76, 26.22, 17.69 และ 49.06 g/Kg DM ตำมล ำดับ ปริมำณ C18:2n6 มีค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ 16.76, 10.02, 11.90, 11.71, และ 17.16 g/Kg DM ตำมล ำดับ และปริมำณ C16:0 มีค่ำเฉลี่ยเท่ำกับ 17.04, 16.33, 15.57, 16.15 และ 22.51 g/Kg DM ตำมล ำดับ กำรศึกษำผลของกำรเก็บถนอมพืชอำหำรสัตว์ที่ต่อปริมำณกรดไขมันท ำกำรศึกษำโดยใช้หญ้ำรูซี่ที่อำยุ 45 วันเปรียบเทียบระหว่ำงหญ้ำรูซี่สด หญ้ำรูซี่แห้ง และหญ้ำรูซี่หมัก พบชนิดกรดไขมันหลักเหมือนกันคือ C16:0 , C18:2n6 และ C18:3n3 ปริมำณกรดไขมันทั้ง 3 ชนิดในหญ้ำรูซี่สด และหญ้ำรูซี่หมักมีค่ำไม่แตกต่ำงกันทำงสถิติ แต่มีปริมำณมำกกว่ำในหญ้ำรูซี่แห้ง ค าส าคัญ : กรดไขมัน รูซี่ กินนีสีม่วง แพงโกลำ กินนีมอมบำซำ เนเปียร์แคระ เลขทะเบียนวิจัย : 54(1)-0214-019 1/กลุ่มวิเครำะห์อำหำรสัตว์และพืชอำหำรสัตว์ ส ำนักพัฒนำอำหำรสัตว์ 2/ศูนย์วิจัยและพัฒนำอำหำรสัตว์นครรำชสีมำ อ ำเภอปำกช่อง จังหวัดนครรำชสีมำ
บทคัดย่อ (EN): The Study on Fatty Acids Profile of Brachiaria ruziziensis, Panicum maximum TD 58, Digitaria erlantha, Panicum maximum cv Mombaza, and Pennisetum purpureum Sasipron Cholumyai1/ Udorn Srisang1/ Phaerawpun Khrueamankorn2/ Study on fatty acid composition and content of 5 species of pasture grasses including (1) Brachiaria ruziziensis ( 2 ) Panicum maximum TD 58 (3) P. maximum cv Mombaza (4) Digitaria erlantha (5) Pennisetum purpureum cv. Mott were conducted at Nakornratchasima Animal Nutrition Research and Development center during May 2011 – September 2012. The average of fatty acid contents from five forage species that were cut at 45 days cutting interval, 5 times in one year were showed. The fatty acid compositions in forages are dominated by high proportion of C16:0, C18:2n6 and C18:3n3. The fatty acid contents were highly variable in grasses. The content of C18:3n3 in Brachiaria ruziziensis, P. maximum TD 58, P. maximum cv Mombaza, Digitaria erlantha and Pennisetum purpureum cv. Mott were 44.74, 20.76, 26.22, 17.69, 49.06 g/Kg DM, respectively. The content of C18:2n6 were 16.76, 10.02, 11.90, 11.71, 17.16 g/Kg DM, respectively. The content of C16:0 were 17.04, 16.33, 15.57, 16.15, 22.51 g/Kg DM, respectively. Effect of conservation on grasses were also presented. Brachiaria ruziziensisas herbage, silage and hay were produced from 45 days cutting interval. The high proportion of the most fatty acids were similar following ensiling compared with herbage. The wilting process affect to the fatty acid contents in hay which show highly decrease compared with herbage. Keywords : fatty acid, Brachiariaruziziensis , Panicum maximum TD 58 , Panicum maximum cv Mombaza , Digitariaerlantha , Pennisetum purpureum cv. Mott Registered No. : 54(1)-0214-019 1/ Feed and Forage Analysis Section, Bureau of Animal Nutrition Development. 2/Nakornratchasima Animal Nutrition Research and Development center, Nakornratchasima.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2554-04-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2555-07-31
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมปศุสัตว์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาชนิดและปริมาณกรดไขมันในหญ้ารูซี่ หญ้ากินนีสีม่วง หญ้าแพงโกล่า หญ้ากินีมอมบาซ่า และหญ้าเนเปียร์แคระ
อุดร ศรีแสง
กรมปศุสัตว์
31 กรกฎาคม 2555
กรมปศุสัตว์
หญ้ารูซี่ หญ้าเนเปียร์ ผลของการจัดการท่อนพันธุ์เนเปียร์ต่อการงอกของท่อนพันธุ์และผลผลิตของหญ้าเนเปียร์พันธุ์ปากช่อง 1 เพื่อลดต้นทุนการผลิตหญ้าเลี้ยงสัตว์ การศึกษาชนิดและปริมาณกรดไขมันในหญ้ารูซึ่ หญ้ากินนีสีม่วง หญ้าแพงโกล่า และ หญ้าเนเปียร์ คุณค่าทางโภชนะของหญ้ากินนีสีม่วง การจัดการเกี่ยวกับการตัดหญ้าเนเปียร์ 3 ชนิด 1.ความสูงของการตัดที่มีต่อผลผลิตและการคงอยู่ของหญ้าเนเปียร์ 3 ชนิด การปรับปรุงพันธุ์หญ้าแพงโกล่าโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ผลผลิตหญ้าอาหารสัตว์จากการปลูกหญ้ารูซี่ หญ้าซิกแนลนอนร่วมกันและปลูกเดี่ยว การทำหญ้าแพงโกล่าแห้ง การศึกษาคุณภาพพืชหมักที่อายุการหมักต่างๆ กันของหญ้ารูซี่ ถั่วท่าพระสไตโลหญ้าแพงโกล่า และถั่วคาวาลเคด

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก