สืบค้นงานวิจัย
การประยุกต์เทคนิคเนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปีเพื่อวิเคราะห์ความหนาแน่นของพันธะเชื่อมขวาง ปริมาณสบู่แอมโมเนียมลอเรตและปริมาณเตตระเมทธิลไทยูแรมไดซัลไฟด์ของน้ำยางธรรมชาติและผลิตภัณฑ์จากน้ำยาง
ปานมนัส ศิริสมบูรณ์ - สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
ชื่อเรื่อง: การประยุกต์เทคนิคเนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปีเพื่อวิเคราะห์ความหนาแน่นของพันธะเชื่อมขวาง ปริมาณสบู่แอมโมเนียมลอเรตและปริมาณเตตระเมทธิลไทยูแรมไดซัลไฟด์ของน้ำยางธรรมชาติและผลิตภัณฑ์จากน้ำยาง
ชื่อเรื่อง (EN): Evaluation of some properties (crosslink density, ammonium laurate soap content and tetramethylthiuram disulphide content) of natural rubber latex using near infrared spectroscopy
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ปานมนัส ศิริสมบูรณ์
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: ชิน ฮอค ลิ้ม
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
หมวดหมู่:
หมวดหมู่ AGRIS:
บทคัดย่อ: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้เทคนิคเนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปี ในการวิเคราะห์ความหนาแน่นของพันธะเชื่อมขวาง ปริมาณสบู่แอมโมเนียมลอเรตและปริมาณเตตระเม ทธิสไทยูแรมไตซัลไฟด์ของน้ำยางธรรมชาติและผสิตภัณฑ์จากน้ำยาง ผลการวิจัยที่ได้สามารถสรุปได้ว่า 1) เทคนิคเนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปีที่ใช้ในงานวิจัยนี้มีความเป็นไปได้ในการใช้ประมาณค่าความ หนาแน่นของพันธะเชื่อมชวาง ซึ่งจำแนกตามพารามิเตอร์ที่วัดอ โมดูลัสการคลายความเค้นของยางวัลคา ไนซ์ที่ระยะยืด 100% (PRM 100) และ 300% (PRM 300) และ ค่า % Swelling ด้วยวิธีการแชนโทลูอื่น (OST) ของตัวอย่างทั้ง 4 ชนิต คือ แผ่นฟิล์มบาง (Thin film) แผ่นฟิล์มหนา (Thick flm) น้ำยางที่ผ่าน การวัลคาไนซ์ปกติ (PV) และน้ำยางที่ผ่านการวัลคาไนซ์แต่ปรับระตับปริมาณของแข็งรวมเป็น 50% (PV50) ทำโตยการสแกนตัวอย่างด้วยเครื่อง FT-NIR Spectrometer ซึ่งมีการวัตแบบ Diffuse Reflectance สแกนทุกๆ 16 cm สแกนช้ำ 32 ครั้งต่อ 1 spectrum 2) ไม่แนะนำให้ใช้เทคนิคเนียร์ อินฟราเรตสเปกโทรสโกปีในการทำนายปริมาณสบู่แอมโมเนียมลอเรต 3) เทคนิคเนียร์อินฟราเรตสเปกโท รสโกปีที่ใช้ในงานวิจัยนี้มีความเป็นไปใต้ในการช้ประมาณค่าปริมาณเตตระเมทธิลไทยแรมไดซัลไฟด์ของ ตัวอย่างน้ำยางข้นทำโตยการสแกนตัวอย่างด้วยเครื่อง FT-NIR Spectrometer เช่นกัน4) จากการ วิเคราะห์จุดคุ้มทุนพบว่า กรณีพันธะเชื่อมขวาง การใช้เทคนิคเนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปี แทนวิธี PRM test มีจุดคุ้มทุน อยู่ที่ 3,018,177 ตัวอย่าง และแทนวิธี toluene sweling test มีจุดคุ้มทุน อยู่ที่ 846,485 ตัวอย่างอย่างไรก็ตีเทคนิคนี้มีความรวดเร็วในการวัดซึ่งใช้เวลาเพียง 2-3 นาทีต่อ 1 ตัวอย่าง เท่านั้น สามารถติตตามการเกิดพันธะเชื่อมขวางในกระบวนการได้ทันที ในขณะที่วิธี PRM test และวิธี toluene swelling test ใช้เวลา 30 นาทีต่อ 1 ตัวอย่าง และการใช้เทคนิคเนียร์อินฟราเรตสเปกโทรสโกปี แทนวิธีอ้างอิงในการวัดปริมาณตตระเมทธิสไทยูแรมไตซัลไฟด์มีจุดคุ้มทุน อยู่ที่ 64,502 ตัวอย่าง โดยวิธี อ้างอิง ใช้เวลา 1 ชั่วโมง 30 นาทีต่อ 1 ตัวอย่าง
บทคัดย่อ (EN): This research was aimed to do feasibility study of application of near infrared ( NIR) spectroscopy in evaluation of crosslink density, ammonium laurate soap content and tetramethylthiuram disulphide content of natural rubber latex and latex product. It was concluded that 1) the NIR spectroscopy technique developed could be used for estimation of cross link density including prevulcanizate relaxed modulus, (PRM) at 100% extension (PRM 100) and 300% (PRM 300) and 96 toluene swelling using quick swelling test (QST) of 4 types of samples i.e. thin film, thick film, prevulcanized latex (PV) and prevulcanized latex with 50% total solids adjusted. The samples were scanned by FT-NIR Spectrometer in diffuse reflectance mode with 16 cm resolution and 32 scans per 1 average spectrum 2) It was not recommended to use the technique for evaluation of ammonium laurate soap content 3) The technique could be applied for estimation of tetramethylthiuram disulphide content of concentrated latex using the same FT-NIR Spectrometer 4) By the break-even point analysis, it was conclude that in case of cross link density, the NIR spectroscopy as an alternative to PRM test and toluene swelling test had the break-even point at 3,018,177 and 846,485 samples, respectively. However the technique was rapid method where only 2-3 min was consumed per sample. It could monitor the cross link density in the vulcanized process immediately while the PRM test and toluene swelling test used 30 min per sample. Using of NIR spectroscopy as an alternative of tetramethylthiuram disulphide content reference method had the break- even point at 64,502 samples within 2-3 min per sample where the reference method consumed 1 and a half hr per sample.
ชื่อแหล่งทุน: T2559003 ทุนวิจัยมุ่งเป้า ปีงบประมาณ 2559 ยางพารา
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2559
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2560
เอกสารแนบ: https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/297767
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-SA 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2559
เผยแพร่โดย: สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การประยุกต์เทคนิคเนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปีเพื่อวิเคราะห์ความหนาแน่นของพันธะเชื่อมขวาง ปริมาณสบู่แอมโมเนียมลอเรตและปริมาณเตตระเมทธิลไทยูแรมไดซัลไฟด์ของน้ำยางธรรมชาติและผลิตภัณฑ์จากน้ำยาง
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
2560
เอกสารแนบ 1
การประยุกต์เทคนิคเนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปีเพื่อวิเคราะห์ความหนาแน่นของพันธะเชื่อมขวาง ปริมาณสบู่แอมโมเนียมลอเรตและปริมาณเตตระเมทธิลไทยูแรมไดซัลไฟด์ของน้ำยางธรรมชาติและผลิตภัณฑ์จากน้ำยาง การพัฒนาวิธีการตรวจวิเคราะห์การปลอมปนในข้าวหอมมะลิเปลือกและข้าวหอมมะลิขาวอย่างรวดเร็วด้วยเทคนิคเนียร์อินฟราเรด การศึกษาปริมาณเนื้อยางแห้งในน้ำยางพาราในเขตจังหวัดเลย การแปรรูปน้ำยางผสมของยางธรรมชาติกับยางสังเคราะห์ วิเคราะห์ปริมาณโปรตีนที่ละลายน้ำได้ในถุงมือแพทย์จากยางธรรมชาติ เขื่อน...น้ำเพื่อชีวิต การพัฒนาผลิตภัณฑ์ยางพาราจากการจุ่มน้ำยาง-สูตรถุงมือยางต้นทุนต่ำและยางรัดผมแฟชั่น การปรับปรุงเทคนิคการวิเคราะห์ปริมาณโปรตีนที่ละลายน้ำได้ในผลิตภัณฑ์จากยางธรรมชาติ การสร้างเครื่องต้นแบบและพัฒนาเครื่องวัดปริมาณยางในน้ำยางด้วยพลาสติก ความถี่ อัตราและช่วงระยะเวลาการให้น้ำสำหรับอ้อยในเขตชลประทานภาคกลาง

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก