สืบค้นงานวิจัย
ผลของอาร์ทีเมียต่อผลผลิต อัตราการรอดตาย และเวลาการพัฒนาเข้าระยะโพสท์ลาร์วาของกั้งตั๊กแตน (Harpiosquilla raphidea Fabricius, 1798)
สุรชาต ฉวีภักดิ์ - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: ผลของอาร์ทีเมียต่อผลผลิต อัตราการรอดตาย และเวลาการพัฒนาเข้าระยะโพสท์ลาร์วาของกั้งตั๊กแตน (Harpiosquilla raphidea Fabricius, 1798)
ชื่อเรื่อง (EN): Effects of Artemia Feeding to Production, Survival Rate and Development Period to Post Lava of mantis shrimp (Harpiosquilla raphidea Fabricius, 1798)
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สุรชาต ฉวีภักดิ์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Surachart Chaweepack
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาผลของอาร์ทีเมียที่ให้เป็ นอาหาร ต่อผลผลิต อัตราการรอดตาย และระยะเวลาการพัฒนาเข้าระยะ post larvaของกั ้งตั๊กแตน (Harpiosquilla raphidea Fabricius, 1798) โดยอนุบาลกั ้งตั๊กแตนในถังพลาสติกความจุ400 ลิตร แบ่งออกเป็ น 3 ชุดการทดลอง ๆ ละ 5 ซํ ้า โดยชุดการทดลองที่ 1 ให้อาร์ทีเมียอายุ 2-5 วัน ตลอดการทดลอง ชุดการทดลองที่ 2 ให้อาร์ทีเมียอายุ 2-5 วัน ใน 5 วันแรกและวันที่ 6 ถึงสิ ้นสุดการทดลอง ให้อาร์ทีเมียอายุ 6-19 วัน ในปริมาณมากเกินพอ ชุดการทดลองที่ 3 ให้อาร์ทีเมียเหมือนชุดการทดลองที่ 2 แต่จากวันที่ 11 ถึงสิ ้นสุดการทดลอง ให้อาร์ทีเมียในปริมาณสองเท่าของชุดการทดลองที่ 2 เมื่อสิ ้นสุดการทดลองพบว่าชุดการทดลองที่ 1-3 กั ้งตั๊กแตนมีอัตราการรอดตายเฉลี่ยร้อยละ 0.22±0.15, 9.81±1.68 และ 16.39±6.14 ตามลําดับ ต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05) โดยชุดการทดลองที่ 3 กั ้งตั๊กแตนมีอัตราการรอดตาย สูงสุด และพบว่าชุดการทดลองที่ 2 และ 3 กั ้งตั๊กแตนพัฒนาเข้าระยะ post larva เร็วกว่าชุดการทดลองที่ 1 อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (P<0.05)
บทคัดย่อ (EN): Effects of artemia feeding to production, survival rate and development period to post larva of mantis shrimp (Harpiosquilla raphidea Fabricius, 1798) were studied. Mantis shrimp rearing in plastic tank capacity of 400 liters 3 treatments with 5 replications were designed. Treatment 1 feed with 2-5 day old artemia throughout the experiment. Treatment 2 feed with 2-5 day old artemia in first 5 days and feed with 6-19 day old artemia until to the end of the experiment. Treatment 3 feed with artemia similar to the second treatment but from 11 th day to the end of the experiment feed with artemia twice the amount of experiment 2. At the end of experiment, survival rate of mantis shrimp post larva were 0.22±0.15, 9.81±1.68 and 16.39±6.14 percent, respectively. The different were significant (P<0.05).The experiment showed that development period to post larva of Treatment 2 and 3 shorter than Treatment 1.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2556-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2558-03-31
เอกสารแนบ: https://kukr.lib.ku.ac.th/proceedings/index.php?/KUCON/search_detail/result/315233
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของอาร์ทีเมียต่อผลผลิต อัตราการรอดตาย และเวลาการพัฒนาเข้าระยะโพสท์ลาร์วาของกั้งตั๊กแตน (Harpiosquilla raphidea Fabricius, 1798)
กรมประมง
31 มีนาคม 2558
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
กรมประมง
ผลของความเข้มแสงต่อ ผลผลิต อัตราการรอดตาย และ ระยะเวลาการพัฒนาเข้าระยะ Post larva ของกั้งตั๊กแตน (Harpiosquilla raphidea Fabricius, 1798) ผลของความเค็มต่อการเจริญเติบโตและการรอดตายของของกั้งตั๊กแตนหางจุด ( Harpiosquilla raphidea (Fabricius, 1798) ผลของความเค็มต่อการเจริญเติบโตและการรอดตายของของกั้งตั๊กแตนหางจุด ( Harpiosquilla raphidea (Fabricius, 1798) การอนุบาลกั้งตั๊กแตนหางจุด Harpiosquilla raphidea (Fabricius, 1798) ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของกั้งตั๊กแตน Harpiosquilla raphidea, Fabricius 1798 ในจังหวัดพังงา การวิจัยและพัฒนากั้งตั๊กแตนเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ ค่าพารามิเตอร์การเติบโตของกั้งตั๊กแตนชนิด Harpiosquilla raphidea (Fabricus, 1798) บริเวณจังหวัดสตูล การอนุบาลลูกกั้งตั๊กแตนหางจุด Harpiosquilla raphidea (Fabricius, 1798) โดยใช้วิธีการต่างกัน ผลของความเป็นด่างและความเค็มของน้ำทะเลต่อการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายของลูกกั้งตั๊กแตนหางจุด Harpiosquilla raphidea (Fabricius, 1798) ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของกั้งตั๊กแตนชนิด Harpiosquilla raphidea (Fabricus, 1798) ทางฝั่งทะเล อันดามันของประเทศไทย

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก