สืบค้นงานวิจัย
สรีรวิทยาน้ำยางของต้นยางหลังเปิดกรีดที่ได้รับปุ๋ยระดับต่าง ๆ
ภัทธาวุธ จิวตระกูล - การยางแห่งประเทศไทย
ชื่อเรื่อง: สรีรวิทยาน้ำยางของต้นยางหลังเปิดกรีดที่ได้รับปุ๋ยระดับต่าง ๆ
ชื่อเรื่อง (EN): Latex Physiology of Mature Rubber Trees which Obtain
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ภัทธาวุธ จิวตระกูล
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาผลทางสรีรวิทยาของยางพันธุ์ GT 1 อายุ 11 ปี ณ สถานีทดลองยางคลองท่อม จังหวัดกระบี่ ซึ่งได้รับปุ๋ยระดับต่างๆ 5 ระดับ คือ ไม่ใส่ปุ๋ย ใส่ปุ๋ย N P K และ Mg ระดับ N30P5K18 N30P5K18Mg2 N30P5K30 และ N30P5K30Mg2 ทั้งนี้โดยเก็บตัวอย่างน้ำยางมาวิเคราะห์หาสารประกอบทางสรีรวิทยาในน้ำยางที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ยางและการไหลของน้ำยาง อันได้แก่ pH Total Solid Content (TSC) หรือ Dry Rubber Content (DRC) Sucrose Thiol, Inorganic Phosphorus (Pi) และ Magnesium (Mg) ผลปรากฏว่า การใส่ปุ๋ยให้กับต้นยางโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ระดับปุ๋ยที่มีการเพิ่มธาตุ Mg ทำให้ pH ของน้ำยางมีค่าสูงขึ้น นอกจากนี้ การใส่ปุ๋ยยังช่วยให้ขบวนการสังเคราะห์ยางที่เกิดขึ้นภายในท่อน้ำยางเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงกว่าการไม่ใส่ปุ๋ย ทั้งนี้จากการที่น้ำยางมีค่า Pi สูงขึ้น อย่างไรก็ตาม ไม่พบความแตกต่างของ Thiol และ Mg ระหว่างการใส่ปุ๋ยสูตรต่าง ๆ กับการไม่ใส่ปุ๋ย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: ม.ป.ป.
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: ม.ป.ป.
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: การยางแห่งประเทศไทย
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
สรีรวิทยาน้ำยางของต้นยางหลังเปิดกรีดที่ได้รับปุ๋ยระดับต่าง ๆ
การยางแห่งประเทศไทย
ไม่ระบุวันที่เผยแพร่
โปรแกรมฐานข้อมูลแนะนำการใช้ปุ๋ย dbFRec for DOS โครงสร้างของเปลือกและท่อน้ำยางของต้นยางหลังเปิดกรีดที่ได้รับปุ๋ยระดับต่าง ๆ การใช้องค์ประกอบทางชีวเคมีของน้ำยางตรวจสอบความสมบูรณ์ของต้นยางสำหรับระบบกรีดที่เหมาะสม การศึกษาเปรียบเทียบผลของอายุต้นยางที่มีต่อโปรตีโอมของน้ำยางดิบ อิทธิพลของการใช้ปุ๋ยต่อคุณสมบัติทางกายภาพของน้ำยาง ผลของการใส่ปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตของต้นสาคู ระดับธาตุอาหารในดิน และในต้นยางพารา ในเขตปลูกยางใหม่ การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบชีวเคมีในน้ำยางต่อระบบกรีดและผลผลิตยางพารา ศึกษาวิธีและเวลาการใส่ปุ๋ยยางหลังเปิดกรีดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการใช้ปุ๋ย เปรียบเทียบคุณสมบัติของไม้ยางพาราที่ได้จากการกรีด และวิธีเจาะร่วมกับการใช้แก๊สเร่งน้ำยาง

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก