สืบค้นงานวิจัย
ผลของ Gas–Flush packaging ต่อการควบคุมเชื้อราโรงเก็บและคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดหวานพันธุ์ลูกผสม 2 สายพันธุ์ (ระยะที่ 2)
ทรงศิลป์ พจน์ชนะชัย - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ชื่อเรื่อง: ผลของ Gas–Flush packaging ต่อการควบคุมเชื้อราโรงเก็บและคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดหวานพันธุ์ลูกผสม 2 สายพันธุ์ (ระยะที่ 2)
ชื่อเรื่อง (EN): Effect of Gas–Flush packaging on storage fungi and quality of 2 lines of hybrid sweet corn seed (Phase 2)
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ทรงศิลป์ พจน์ชนะชัย
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): SONGSIN PHOTCHANACHAI
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: เมื่อบรรจุเมล็ดข้าวโพดหวานในขวดแก้วปีดสนิทในสภาพที่มีก๊ซคาร์บอนไดออกไซด์และ ไนโตรเจนความเข้มข้นร้อยละ 100 และที่สภาพอากาสปกติ (ชุดกวบคุม) เก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิห้อง (28:2 องศาเซลเซียส) เป็นระยะเวลา 12 เดือน พบว่า ความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์ลดลง จากร้อยละ 100 เหลือเพียงประมาณร้อยละ 0.10 แต่ก๊ซในโตรเจนมีปริมาณลดลงเล็กน้อยและคงที่ (ร้อยละ 79.8-81.8) ส่วนองค์ประกอบของก๊ซในขวดบรรจุของชุดควบคุม (อากาศปกติ) ไม่ เปลี่ยนแปลงตลอดอายุการเก็บรักพา ส่วนการเปลี่ยนแปลงของปริมาณการปนเปื้อนเชื้อราพบว่า เมล็ ข้าวโพดหวานพันธุ์ No. 40 ปนเปื้อนเชื้อรา ร้อยละ 83.80 สูงกว่าพันธุ์ No. 39 ที่ปนเปื้อนร้อยละ 50.50 อย่างไรก็ตาม ชนิดของก๊ซที่ใช้ในการเติมขวดบรรจุไม่มีผลต่อการเพิ่มขึ้นของเชื้อราเมื่อเปรียบเทียบ กับชุดควบคุม ถึงแม้ว่าความงอกของเมล็ดทั้ง 2 สายพันชุลคลงไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ แต่ เมล็ดพันธุ์ N. 40 มีความแข็งแรงสูงกว่า (ตรวจสอบด้วยการวัดค่าคัชนีการงอกและความงอกของ เมล็ดพันธุ์ภายหลังการเร่งอายุ) การเก็บรักษาในสภาพที่มีกี๊ซคาร์บอนไดออกไซด์ความเข้มข้นร้อย ละ 100 ทำให้เมล็ดมีความงอกร้อยละ 83.00 รองลงมาคือ ก๊ซไนโตรเจนความเข้มข้นร้อยละ 100 และที่สภาพอากาศปกติ (ร้อยยละ75.00 และ 37.50) ตามลำดับ (ความงอกมาตรฐานของเมล็ดข้าวโพด หวานตามพระราชบัญญัติพันธุ์พืชของประเทศไทย พ.ศ. 2518 คือ ร้อยละ 75) และความแข็งแรงของ เมล็ดทั้ง 2 พันธุ์มีค่าสูงกว่าชุดกวบคุม (อากาศปกติ) นอกจากนี้ พันธุ์ของเมล็ดข้าวโพคหวานไม่มีผล ต่อการลดลงของปริมาณโปรตีนซึ่งลดลงประมาณ 2 เท่าของปริมาณ โปรตีนเริ่มต้น อย่างไรก็ตาม การ เก็บรักษาเมล็ดข้าวโพดหวานในสภาพที่เติมก๊ซดาร์บอน ไดออกไซด์และ ในโตรเจนความเข้มข้นร้อย ละ 100 สามารถชะลอการเพิ่มขึ้นของกรดไขมันอิสระ ได้ เมื่อเปรียบเทียบกับชุดควบคุม และทั้ง 2 พันธุ์ มีปริมาณกรดไขมันอิสระสูงที่สุดเมื่อเก็บรักษานาน 6 เดือน และการเปลี่ยนแปลงของปริมาณ กรดไขมันอิสระไม่สัมพันธ์กับกิจกรรมของไลเปส ดังนั้น ถ้าต้องการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าวโพค หวานไว้ที่อุณหภูมิห้องนาน 1 ปี ต้องบรรจุเมล็ดพันธุ์ไว้ในสภาพที่มีก๊าซคาร์บอนไคออกไซค์ความ เข้มขึ้นร้อยละ 100
บทคัดย่อ (EN): Effect of gas-flush packaging on storage fungi and quality of hybrid sweet comn seeds was studied. Two lines, No. 39 and No. 40, of hybrid sweet corn seeds donated by a local seed company were used. Five fungal species were observed in No. 39 sceds, including Aspergillus lavus, A. niger, Rhizopus sp. and 2 unknown species, and 4 fungal species were found in No. 40, similarity to those in No. 39 except 1 unknown species. A. flavus was the major species found in both lines. No. 40 sceds had fungal contamination (55.50%) higher than that of No. 39 (44.50%). The initial germination (89.50%) and seed vigour, including germination index (10.13) and germination after accelerated aging (68.25%) of No. 39 seeds were lower than that of No. 40 (93.50) where as abnormal seedling (10.50%) of No. 39 was higher. Total protein content of No. 39 (8.58%) was also significantly higher, but total lipids content (8.80%), free fatty acid (0.28 mg (KOH)/100 g d.b.) and lipase activity (1.29 unit/mg protein) were not significantly different. The seeds kept in tight glass bottles flushing with 100% CO, and N, and ambient air (control) at room temperature (28*2 *C) for 12 months was carried out. The concentration of CO, in the bottle flushing with 100% CO, was reduced to be approximately 0.10% but the N, concentrate remained to be 79.8-81.8%. The composition of gases in the control bottles (ambient air) were not changed during storage. The fungal contamination of No. 40 seeds (83.80%) is higher than that of No. 39 (50.50%), The difference of gas flushing in the containers, however, did not influence the incrcasc of fungal contamination compared to the control seeds. Even though the seed gemination of both lines was not significantly different, incomparison to No. 39, No. 40 seeds reveal significantly higher seed vigour indicated by their germination index and germination afier accelerated aging. The germination of the seeds flushing with 100% CO, was 83.00% following by 100% N, and the ambient air (75.00 and 37.50%, respectively, and sweet corn seed germination required by Thai Seed Acts is 75%, 1975). Their seed vigour was also found to be higher than the control secds. The lines did not exhibit the difference of the protein reduction, which was declined about 2 times compared to its initial content. However, the increase of free fatty acid in both lines of the seeds fushing with 100% CO, and N, was delayed and showed the highest free fatty acid lines after 6 months storage. The changes of free fatty acid did not related to lipase activity. Therefore, a container flushing with 100% CO, is recommended for sweet comn seeds storage for 1 year at room temperature.
ชื่อแหล่งทุน: เงินงบประมาณแผ่นดิน
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 427,720.00
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2552-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2552
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยประยุกต์
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของ Gas–Flush packaging ต่อการควบคุมเชื้อราโรงเก็บและคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดหวานพันธุ์ลูกผสม 2 สายพันธุ์ (ระยะที่ 2)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
30 กันยายน 2552
วันเก็บเกี่ยวข้าวโพดเทียนพันธุ์บ้านเกาะที่ให้คุณภาพฝักและเมล็ดพันธุ์สูงสุด เทคนิคการเร่งอายุเมล็ดพันธุ์กับการประเมินอายุการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดหวาน ผลของ Gas–Flush packaging ต่อการควบคุมเชื้อราโรงเก็บและคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดหวานพันธุ์ลูกผสม 2 สายพันธุ์ (ระยะที่ 1) การปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดเพื่อเพิ่มคุณภาพโปรตีน การพัฒนารูปแบบการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวโดยเกษตรกร การพัฒนากระบวนการต้นแบบในการทดสอบพันธุ์ข้าวลูกผสม ความสัมพันธุ์ของแมลงศัตรูข้าวโพดและแอฟลาท็อกซิน ปกป้องสายตาด้วยข้าวโพด การตรวจสอบการปนเปื้อนของเชื้อราในข้าวแบบรวดเร็วและไม่ทำลายตัวอย่าง โดยใช้ Near infrared spectroscopic-Chemical imaging ทิศทางในการพัฒนาข้าวโพด

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก