สืบค้นงานวิจัย
การขยายขนาดกำลังการผลิตและควบคุมคุณภาพการผลิตข้าวเม่าแห้ง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิริยา พรมกอง - กรมประมง, กองควบคุมการค้าสัตว์น้ำและปัจจัยการผลิต
ชื่อเรื่อง: การขยายขนาดกำลังการผลิตและควบคุมคุณภาพการผลิตข้าวเม่าแห้ง
ชื่อเรื่อง (EN): Production scale-up and quality stability of dried immature green rice
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิริยา พรมกอง
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: โครงการการขยายขนาดกำลังการผลิตข้าวเม่าแห้งที่ระดับกำลังการผลิต 60 กิโลกรัมข้าวเปลือกต่อชั่วโมง สามารถผลิตข้าวเม่าแห้งที่มีคุณภาพทางด้านเคมี คุณภาพข้าวหุงสุก ร้อยละข้าวเต็มเมล็ดและปริมาณสารสำคัญบางชนิดที่ดีกว่าเมื่อเทียบเท่ากับข้าวเม่าแห้งที่ผ่านการผลิตในระดับห้องปฏิบัติการและวิธีดั้งเดิมอีกทั้งข้าวเม่าแห้งมีอายุการเก็บรักษาที่ 25-35C ได้นานถึง 24 เดือน งานวิจัยนี้ได้ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับกลุ่มเป้าหมายแล้ว โดยแม้ว่าค่าใช้จ่ายในการลงทุนเพิ่มขึ้น แต่หากรับวัตถุดิบในปริมาณ 5-7 ตันต่อปี สามารถ คืนทุนที่ระยะเวลาน้อยกว่า 5 ปี และต้องบริหารจัดการราคารับซื้อวัตถุดิบให้แตกต่างจากราคาขายข้าวเม่าแห้งได้มากกว่า 65 บาท จากการสำรวจข้อมูลผู้บริโภคพบว่ามีความสนใจมากและประสงค์จะซื้อสินค้านี้หากมีการวางจำหน่ายจริง
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2559-04-19
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2560-04-18
เอกสารแนบ: http://www.thai-explore.net/search_detail/result/4718
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2558
เผยแพร่โดย: สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การขยายขนาดกำลังการผลิตและควบคุมคุณภาพการผลิตข้าวเม่าแห้ง
สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.)
18 เมษายน 2560
เอกสารแนบ 1
การขยายขนาดกำลังการผลิตและควบคุมคุณภาพการผลิตข้าวเม่าแห้ง การพัฒนากระบวนการผลิตและการออกแบบเครื่องผลิตข้าวเม่าเพื่ออุตสาหกรรมขนาดเล็กและขนาดย่อม การประยุกต์ใช้ปุ๋ยจากแคลเซียมธรรมชาติในการผลิตข้าว : II. ผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิต การสร้างเครื่องผลิตและการพัฒนากระบวนการผลิตข้าวเม่าเพื่ออุตสาหกรรมขนาดเล็ก และขนาดย่อม การผลิต คุณภาพ และความปลอดภัยของน้าปลาร้าปรุงรส การใช้เทคโนโลยีการผลิตและการปรับปรุงคุณภาพผลผลิตข้าวนาปรังปี 2540 ของเกษตรกรในภาคกลาง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเพิ่มผลผลิตและพยากรณ์การผลิตข้าว สถานการณ์การผลิตและการจัดการผลผลิตข้าวนาปี ของเกษตรกรจังหวัดเพชรบูรณ์ การศึกษาศักยภาพการผลิตและการเพิ่มผลผลิตพืชในลุ่มน้ำห้วยข้าวสาร ระบบโครงข่ายเซนเซอร์ไร้สายเพื่อควบคุมคุณภาพการผลิตผลไม้

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก