สืบค้นงานวิจัย
การดูดตรึงฟอสเฟตสูงของดินชุดต่าง ๆ
ประพิศ แสงทอง นิลประไพ จันทนภาพ และวิศิษฐ์ โชลิตกุล - กรมวิชาการเกษตร
ชื่อเรื่อง: การดูดตรึงฟอสเฟตสูงของดินชุดต่าง ๆ
ชื่อเรื่อง (EN): Phosphate Adsorption Characteristics in Five Major Soils Groups
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ประพิศ แสงทอง นิลประไพ จันทนภาพ และวิศิษฐ์ โชลิตกุล
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Prapit Sangtong
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): Nilprapai Chuntanaparb and Wisit Cholitkul.
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การศึกษาการดูดตรึงฟอสเฟตของดินชุดต่าง ๆ ที่มีคุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์แตกต่างกัน 5 ชุด คือ ดิน Brackish Water Alluvial soils (Acid Sulfate Soil, ASS), Fresh Water Alluvial soils (FWA), Rdddish Brown Lateritic soils (RBL), Grumusols และ Noncalcie Brown Soils (NCB) โดยศึกษาการดูดตรึงฟอสเฟตจากสารละลายฟอสเฟตที่มีความเขัมข้นต่าง ๆ กัน 12 ระดับ และอยู่ในช่วง pH ระหว่าง 3-9 ผลการศึกษาพบว่าดิน BWA (ASS) มีปริมาณอะลูมินั่มอิสระและอะลูมินั่มที่แลกเปลี่ยนได้สูง ดังนั้น การดูดตรึงฟอสเฟตยิ่งเกิดสูงตามไปด้วย สำหรับดิน grumusols เป็นดินที่มีปริมาณแคลเซียมคาร์บอเนตสูง ดังนั้นฟอสเฟตที่ใส่ให้ดินจึงตกตะกอนอยู่ในรูปของแคลเซียมฟอสเฟต และการตกตะกอนจะเพิ่มสูงตามการเพิ่มความเข้มข้นของฟอสเฟต ดิน FWA จะดูดตรึงฟอสเฟตลดลงเมื่อ pH ของดินเพิ่มขึ้น และการดูดตรึงฟอสเฟตจะสูงสุดที่ pH ประมาณ 4 ส่วนอีก 2 ชุด คือ RBL และ NCB ดูดตรึงฟอสเฟตได้ต่ำโดยพบว่ามีการดูดตรึงสูงสุดที่ pH ประมาณ 4
บทคัดย่อ (EN): Phosphate adsorption was investigated over the pH range 3 - 9 and at various equilibrium phosphate concentrations in five major soils groups; Brackish Water Alluvial soils (BMA) (Acid Sulphate), fresh Water alluvial soils (FWA), Reddish Brown Lateritic Soil (RBL), Grumusols and , Noncalcie Brown soils (NCB). Phosphate adsorption in teh BWA reached a maximum at about pH5 and was associated with the formation of a surface chelating compound with hyxroxy-aluminium, with increased phosphate concentration there was a marked increase in adsorption. In the Grumusols which have a high level of calcium carbonate, the phosphate precipitated out as calcium phosphate; increased phosphate levels resulted in an increasel level of precipitation. In teh FWA soil group phosphate adsorption was at a maximum at about pH4 and decreased with increasing pH. In the ramaining two soils groups, RBL and NCB, the level of phosphate adsorption was generally low and reached a maximum at about pH 4.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2528
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2528
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมวิชาการเกษตร
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การดูดตรึงฟอสเฟตสูงของดินชุดต่าง ๆ
กรมวิชาการเกษตร
2528
เอกสารแนบ 1
การเพิ่มผลผลิตหญ้ามอริชัสโดยการใช้ปุ๋ยฟอสเฟตในดินชุดบ้านทอน ศึกษาหาชนิดจุลินทรีย์ดินอิสระที่สามารถย่อยสลายหินฟอสเฟตในสภาพดินปลูกยาง ในเขตภาคใต้ตอนบนให้อยู่ในรูปที่เป็นประโยชน์ต่อยาง การพัฒนาผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ละลายฟอสเฟตเพื่อเพิ่มความเป็นประโยชน์ของฟอสฟอรัสในดินปลูกอ้อยในจังหวัดสระแก้ว ผลของการใช้วัสดุปรับปรุงดินร่วมกับเชื้อแบคทีเรียที่สามารถย่อยสลายฟอสเฟตต่อการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดินภายใต้ทรงพุ่มมะรุม ศักยภาพการใช้แบคทีเรียละลายฟอสเฟตต่อความเป็นประโยชน์ของฟอสฟอรัสในดินเพื่อการเพิ่มการเจริญเติบโตและผลผลิตของอ้อยในจังหวัดสระแก้ว การสาธิตทดสอบการจัดการดินบนพื้นที่ลาดชันเพื่อปลูกยางพาราในกลุ่มชุดดินที่34 ชุดดินท่าแซะ การเปรียบเทียบค่าสัมประสิทธิ์การเลือกดูดซับประจุบวกของดินชุดหางดง ผลของความสูงและความถี่ในการตัดที่มีต่อผลผลิตและส่วนประกอบทางเคมีของบุหงานราในชุดดินบ้านทอน การจัดการดินเพื่อเพิ่มผลผลิตยางพาราในกลุ่มชุดดินที่ 34 จ.สุราษฎร์ธานี การจัดการดินเพื่อเพิ่มผลผลิตยางพาราในกลุ่มชุดดินที่ 40 จ.บุรีรัมย์

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก