สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนากระบวนการผลิตไบโอเอทานอลจากวัสดุเหลือทิ้งไร่ข้าวโพด โดยการหมักแบบแยกกระบวนการผลิต
ณัฐต์ณิชา สุขเกษม - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: การพัฒนากระบวนการผลิตไบโอเอทานอลจากวัสดุเหลือทิ้งไร่ข้าวโพด โดยการหมักแบบแยกกระบวนการผลิต
ชื่อเรื่อง (EN): Development of bioethanol production from cornfield - agricultural waste by separation hydrolysis and fermentation
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ณัฐต์ณิชา สุขเกษม
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Natthanicha Sukasem
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: วัสดุเหลือทิ้งข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นวัสดุลิกโนเซลลูโลสที่สามารถนามาใช้ในการผลิตเอทานอล ซึ่งในการผลิตเอทานอล วัสดุลิกโนเซลลูโลสจาเป็นต้องมีการปรับสภาพด้วยกระบวนการทางกายภาพ ทางเคมี และเอนไซม์ งานวิจัยนี้จึงได้ทาการปรับสภาพต้นข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่อัตราส่วนพืชต่อสารละลายเป็น 1:5 สารละลายผสมได้ให้ความร้อนด้วยที่อุณหภูมิ 121 ?C ความดัน 1.5 lb/in2 เวลา 15 min การปรับสภาพด้วยสารละลายกรดไฮโดรคลอริกที่ความเข้มข้น 2, 3 และ 4% (v/v) นั้น ผลการทดลองพบว่าความเข้มข้นสารละลาย 4% (v/v) ให้สัดส่วนเซลลูโลสสูงสุดหลังการการปรับสภาพ จากนั้นตัวอย่างพืชนามาปรับสภาพในสภาวะด่างด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่ความเข้มข้น 2, 3 , 4 และ 15% (w/v) พบว่าความเข้มข้นสารละลาย 15% (w/v) ให้สัดส่วนเซลลูโลสสูงสุด ที่ 76% หลังจากนั้นนาส่วนของแข็งมาย่อยด้วยเอนไซม์เซลลูเลสที่อุณหภูมิ 42?C อัตราการกวนที่ 200 rpm พบว่า ระยะเวลาการย่อยสลายเซลลูโลสระหว่าง 27-36 hr ให้ความเข้มข้นน้าตาลสูงสุด โดยมีค่า (%) Saccharification สูงถึง 100% จากนั้นทาการหมักเอทานอลโดยใช้น้าตาลที่ได้จากการปรับสภาพและการใช้กลูโคสที่ค่าความเข้มข้นน้าตาลเริ่มต้นที่ต่างกัน การหมักเอทานอลด้วยยีสต์ Saccharomyces cerevisiae ที่อุณหภูมิ 37 ?C เป็นเวลา 72 hr ให้ผลผลิตเอทานอลและร้อยละผลผลิตเอทานอลไม่แตกต่างกัน โดยมีค่าร้อยละผลผลิตเอทานอลอยู่ในช่วงระหว่าง 95 – 97%
บทคัดย่อ (EN): Agricultuaral maize wastes are lignocellulosic materials that can be used for the ethanol production. In the ethanol production, the lignocellulosic materials were treated by using physical, chemical and enzymatic pretreatment. In this research, the agricultural maize waste were treated at ratio of dried plant and pretreatment solution at 1:5. The mixture solutions were heated at temperature 121?C, 1l.5 lb/in2 for 15 min. The acid pretreatment using the hydrochloric acid at concentration at 2, 3 and 4% (v/v) showed that the HCl concentration at 4% (v/v) release the highest content of cellulose after pretreatment. Then, the treated samples were treated again under the alkaline condition by using 2, 3, 4 and 15% (w/v) of sodium hydroxide solution. The results were suggested that at 15% (w/v) of NaOH showed the highest concetent of cellulose about 76%. After that the treated solids were digested by using cellulase under tempeture at 42?C and 200 rpm, the digestion times for cellulose degradations were about 27-36 hr that released the highest sugar concentration and the (%) saccharifications were nearly 100%. Then, the ethanol fermentations were done by using the sugar solutions from the steps of pretreatments under various initial sugar concentrations. The ethanol fermentation by Saccharamyces cerevisiae under temperature at 37 ?C for 72 hr showed that the both of ethanol yields and (%) thereotical ethanol yields were not significantly different and they were about 95 – 97% of thereotical ethanol yields.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: วิทยาลัยพลังงานทดแทน
เลขทะเบียนวิจัยกรม: มจ.1-61-095
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2561
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2561
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนากระบวนการผลิตไบโอเอทานอลจากวัสดุเหลือทิ้งไร่ข้าวโพด โดยการหมักแบบแยกกระบวนการผลิต
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2561
การพัฒนาการหมักร่วมระหว่างวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรกับสาหร่ายและการศึกษาการปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพด้วยสาหร่าย การผลิตปุ๋ยอินทรีย์และวัสดุปลูกจากเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรด้วยวิธีการ หมักแบบไม่พลิกกลับกอง การศึกษาความเป็นไปได้ในการผลิตเอทานอลจากเซลลูโลสโดยใช้วัสดุเหลือทิ้งที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ การผลิตเชื้อเพลิงชีวมวลและไบโอชาร์จากเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการกลุ่มจากเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรสู่วิสาหกิจชุมชน ศึกษาการผลิตก๊าซชีวภาพจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในสภาพไร้อากาศแบบแห้ง การสร้างและพัฒนาตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแปรรูปเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร การพัฒนาพลังงานจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรเพื่อแก้ปัญหาหมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ การพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการผลิตน้ำพริกน้ำปูเพื่อความปลอดภัยทางด้านอาหาร การเพิ่มค่าความร้อนของโปรดิวเซอร์แก๊สที่ผลิตจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรผ่านกระบวนการแก๊สซิฟิเคชันโดยใช้ไอน้ำ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก