สืบค้นงานวิจัย
ผลของปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อจุลินทรีย์ดินและการเพิ่มผลผลิตของยางพาราในชุดดินท่าแซะ
อุษา ศรีใส - กรมพัฒนาที่ดิน
ชื่อเรื่อง: ผลของปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อจุลินทรีย์ดินและการเพิ่มผลผลิตของยางพาราในชุดดินท่าแซะ
ชื่อเรื่อง (EN): The effects of organic and chemical fertilizer to soil microbe and increasing yield of para rubber in The Sae soil series.
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อุษา ศรีใส
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพร่วมกับปุ้ยเคมีที่มีต่อ จำนวนจุลินทรีย์ดิน และผลผลิตของยางพารา ทำการศึกษาในแปลงทคลองยางพารา อายุ 12 ปี บ้านนา ป้อง ตำบลกาะแต้ว อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา โคยวางแผนการทคลองแบบ RCBD (Randomized Completely Block Designs)ทำการทคลอง 6 ตำรับ 4 ซ้ำ คือ T1 แปลงควบคุม, T2 ปุ๋ยเคมีตาม คำแนะนำของกรมวิชาการเกษตร (1 กิโลกรัม/ต้นปี), T3 ปุ๋ยหมัก 10 กิโลกรัม/ต้น/ปี, T4 ปุ้ยหมัก 10 กิโลกรัม/ต้นปี+น้ำหมักชีวภาพ (อัตรา 1:200), T5 ปุยเคมีครึ่งอัตราตามคำแนะนำของกรมวิชาการ เกษตร + น้ำหมักชีวภาพ (1:200 ), T6 ปุ๋ยเคมีครึ่งอัตราตามคำแนะนำของกรมวิชาการเกษตร+ ปุ้ยหมัก + น้ำหมักชีวภาพ (1:200) จากผลการทคลองพบว่า หลังจากให้น้ำหมักชีวภาพทุกๆ 2 สัปดาห์ จำนวน 3 เดือน จำนวนแบคทีเรียทั้งหมด ในตำรับซึ่งใส่ปุ๊หมักร่วมด้วยทุกคำรับมีแนวโน้มว่าจำนวนแบดที่เรีย ทั้งหมดในดินมีดำสูงกว่าตำรับซึ่งไม่ใส่ปียหมัก ทั้งนี้อาจเนื่องจากอินทรีย์สารจากปุ้ยหมักเป็นแหล่ง อาหารของจุลินทรีย์ดิน(heterotroph) (Stevenson , 1986)ในแปลงควบคุมมีจำนวนจุลินทรีย์ต่ำสุด ในตำรับซึ่งใส่ป้ยหมักในตำรับที่ 3, 4 และ มีจำนวนจุสินทรีย์ไม่แตกต่างกันทั้งใน ปีที่ 1 และปีที่ 2 สำหรับน้ำหนักยางพาราในตำรับที่ใส่ป้ยเคมีตามคำแนะนำ(T2) มีค่าสูงสุด ทั้ง 3 ปี ในตำรับควบคุม(T1) ซึ่งไม่ใส่ป้ยเศมีและป้ยหมักผลผลิตน้ำหนักขางมีค่ต่ำสุด ทั้งนี้อาจเนื่องจากธาตุอาหารที่พืชนำไปใช้มี ปริมาณน้อยกว่าใน T2, T3, T4, T5 และ T6 ซึ่งมีการใส่ปุ้ยเคมีและปุ้ขหมัก ปีแรกและปีที่ 2 ใน T6 ซึ่งเป็นตำรับซึ่งมีการใช้ปุ๋ยเคมีครึ่งอัตราร่วมกับปุ๊ยหมักจำนวน 10 กิโลกรัมต่อตันต่อปี และน้ำหมักชีวภาพ ผลผลิตยางพาราเฉลี่ย มีค่ไม่แตกต่างทางสถิติกับตำรับที่ 2 ซึ่งใส่ยเคมีตามคำแนะนำของกรมวิชาการ เกษตร มีค่าสูงสุด ดินจัดว่าเป็นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ หลังการทดลองพบว่า ในตำรับที่ 2 ซึ่งใส่ ปัขเคมีเต็มอัตรา มีแนวโน้มว่าดินมีค่าเปอร์เซ็นต์ในโตรเนทั้งหมด, ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์, โพแทสเซียมที่เป็นที่ประโยชน์ และค่ CEC สูงสุด
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดิน
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2551-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมพัฒนาที่ดิน
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อจุลินทรีย์ดินและการเพิ่มผลผลิตของยางพาราในชุดดินท่าแซะ
อุษา ศรีใส
กรมพัฒนาที่ดิน
30 กันยายน 2554
การศึกษาผลของการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมีต่อการเจริญเติบโตของยางพารา (ช่วงอายุก่อนเปิดกรีด) การศึกษาการใช้น้ำหมักชีวภาพซุปเปอร์ พด.2 และปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง ในการป้องกันอาการเปลือกแห้งของยางพาราและเพิ่มผลผลิตน้ำยาง ผลของการใช้จุลินทรีย์จาวปลวกต่อการเพิ่มผลผลิตของมันสำปะหลัง ผลของถ่านชีวภาพต่อการเพิ่มผลผลิตและเติบโต ของยางพารา อิทธิพลของปุ๋ยเคมีต่อผลผลิตของชมจันทร์ ปัจจัยที่มีผลในการตัดสินใจของเกษตรกรที่มีต่อการใช้ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมี ปัจจัยที่มีผลในการตัดสินใจของเกษตรกรที่มีต่อการใช้ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมี ความหลากหลายของจุลินทรีย์ดินในพื้นที่เกษตรกรรมของอำเภอไพรบึงจังหวัดศรีสะเกษ อิทธิพลของปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมีที่มีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของแก่นตะวัน ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อการเลือกซื้อปุ๋ยเคมีของเกษตรกรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก