สืบค้นงานวิจัย
ประติมากรรมสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้พิการทางสายตาในสถานสงเคราะห์เด็ก จังหวัดเชียงใหม่
สมศักดิ์ พรมจักร - มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง: ประติมากรรมสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้พิการทางสายตาในสถานสงเคราะห์เด็ก จังหวัดเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง (EN): Sculpture Art to Develop Quality of life for The Blind Children at Chiang Mai Child Care Home
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: สมศักดิ์ พรมจักร
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ประติมากรรมสร้างสรรคเ์พื่อพฒันาคุณภาพชีวติของผพู้ิการทางสายตาในสถานสงเคราะห์ เด็ก จังหวัดเชียงใหม่ มีวตัถุประสงคเ์พื่อศึกษาบริบท สถานภาพ ลกัษณะทางกายภาพของเด็กพิการ ทางสายตา ในจังหวัดเชียงใหม่ จดัการเรียนรู้และวดัผลการเรียนรู้ ด้านประติมากรรมสร้างสรรค ์ เพื่อพฒันาคุณภาพชีวิตของเด็กพิการทางสายตาในจังหวัดเชียงใหม่ ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการศึกษาครั้งนี้คือ โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จังหวัดเชียงใหม่ จา นวน 7 คน ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง โดยใช้วิธีการวิเคราะห์ผลจากแบบสอบถาม และแบบสังเกต จากนั้นจึงน ามาวิเคราะห์และแสดงผลออกมาเป็นตาราง (Table) อตัราร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน รวมถึงการอภิปรายผลใตต้าราง ผลการศึกษาพบว่า โรงเรียนสอนคนตาบอดภาคเหนือในพระบรมราชินูปถัมภ์ จังหวัดเชียงใหม่เป็น สถานศึกษาที่จดัการเรียนการสอนส าหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเห็น ตั้งแต่ระดับ อนุบาลถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แบ่งการจัดการเรียนการสอนออกเป็น 3 กลุ่มได้แก่ การจดัการเรียนการสอนนกัเรียนที่เตรียมความพร้อมดา้นทกัษะวิชาการและงานอาชีพ การจดัการ เรียนการสอนนักเรียนเรียนร่วมโรงเรียนทั่วไป และการจดัการเรียนการสอนนกัเรียนดา้นฝึกวิชาชีพ แก่นกัเรียนที่มีความบกพร่องทางการเห็นและมีความพิการอื่นร่วมด้วย สา หรับการจดัการเรียนรู้และวดัผลการเรียนรู้ ดา้นทศันศิลป์สร้างสรรค ์เพื่อพฒันาคุณภาพ ชีวิตของเด็กพิการทางสายตาในจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า พฤติกรรมด้านร่างกาย ก่อนปฏิบัติกิจกรรม อยู่ในระดับปฏิบตัิพฤติกรรมน้อยและปานกลางและหลังจากปฏิบัติกิจกรรมอยู่ในระดับปฏิบตัิ พฤติกรรมมากและปานกลาง พฤติกรรมด้านจิตใจ / อารมณ์ ก่อนปฏิบัติกิจกรรมอยู่ในระดับปฏิบตัิ พฤติกรรมน้อยถึงปานกลางและหลังจากปฏิบัติกิจกรรมอยู่ในระดับปฏิบตัิพฤติกรรมปานกลางถึง มากที่สุด พฤติกรรมด้านสังคม ก่อนปฏิบัติกิจกรรมอยู่ในระดับปฏิบตัิพฤติกรรมนอ้ยถึงปานกลาง และหลังจากปฏิบัติกิจกรรมอยู่ในระดับปฏิบตัิพฤติกรรมมากถึงมากที่สุด ความพึงพอใจจากการ ปฏิบัติกิจกรรมของผู้เรียนก่อนปฏิบัติกิจกรรมอยู่ในระดับปฏิบตัิพฤติกรรมปานกลางและหลงัจาก ปฏิบัติกิจกรรมอยู่ในระดับปฏิบตัิพฤติกรรมมากที่สุด
บทคัดย่อ (EN): Sculpture Art to Develop Quality of life for The Blind Children at Chiang Mai Child Care Home has the objective to investigate the context of physical appearance of visually impaired children in Chiang Mai by learning and measure the learning of creative sculpture to improve the quality of life of blind children in Chiang Mai. In order that, the population and sample used in this study. They were 7 students in Northern School for The Blind under patronage of the Queen. The results was analyzed and displayed in table form and percentage form. And it was including with average, standard deviation and discussion under the table. The study indicated the education in Northern School for The Blind under patronage of the Queen. There are 3 groups of instruction for visually impaired students from kindergarten through high school. Including with 1) Teaching and Learning in preparation for academic and professional work. 2.) The regular classes and 3) Professional training in the areas of visual impairment and other disabilities. The result showed that sorting of learning and visual learning in creative visual arts to improve the quality of life of blind children in Chiang Mai, there were found that physical behavior before performing activities at the practical level were low and medium level. After the activity, practical level was high and moderate behavior. As a result, mental and emotional behavior prior to perform the activity at a practical level was measured. They were low to moderate behaviors. After doing activity, they were at moderate level. The social behavior before practice was between low to moderate. After practicing, they were at the high and the highest level of behavior. The satisfaction with the activities of the learners prior to the activity was moderate level. After the activity, they were at the highest level of behavior
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2557-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2558-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ประติมากรรมสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้พิการทางสายตาในสถานสงเคราะห์เด็ก จังหวัดเชียงใหม่
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
30 กันยายน 2558
ทัศนศิลป์สร้างสรรค์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กออทิสติก ในสถานสงเคราะห์ จังหวัดเชียงใหม่ การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่อาศัยในบ้านพักคนชราในจังหวัดเชียงใหม่ด้วยกิจกรรมศิลปะบำบัด ประยุกต์ศิลป์สร้างสรรค์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของเยาวชนในสถานพินิจ และคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดเชียงใหม่ การศึกษาความปลอดภัยและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ลูกชิ้นปลา กิจกรรมสร้างสรรค์สำหรับพัฒนาสมรรถนะเด็กออทิสติกในสถานสงเคราะห์ในจังหวัดเชียงใหม่ การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่มีผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การผลิตฟักทองญี่ปุ่นพร้อมปรุงในภาชนะบรรจุสำหรับการจำหน่ายปลีก : คุณภาพระหว่างการเก็บรักษา การรักษาคุณภาพของลองกองพร้อมบริโภคด้วยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว โครงการย่อยที่2 การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยหมักจากกากมันสำปะหลังเพื่อเพิ่มคุณภาพผลผลิตข้าวแบบอินทรีย์ ในกลุ่มเกษตรกร รายย่อยของอําเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์ การรักษาคุณภาพของลองกองพร้อมบริโภคด้วยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว (ระยะที่ 2)

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก