สืบค้นงานวิจัย
ผลของน้ำหมักจากแบคทีเรีย Methylobacterium radiotolerans ED5-9 ที่ผลิต Indole-3-acetic acid (IAA) ต่อผลผลิตเห็ดนางรม (Pleurotus ostreatus (Jacq. ex Fr.) Kummer)
มนต์รินทร์ เรืองจิตต์ - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ผลของน้ำหมักจากแบคทีเรีย Methylobacterium radiotolerans ED5-9 ที่ผลิต Indole-3-acetic acid (IAA) ต่อผลผลิตเห็ดนางรม (Pleurotus ostreatus (Jacq. ex Fr.) Kummer)
ชื่อเรื่อง (EN): Effect of fermentation broth from indole-3-acetic acid (IAA) producing Methylobacterium radiotolerans ED5-9 on production yield of oyster mushroom (Pleurotus ostreatus (Jacq. ex Fr.) Kummer)
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: มนต์รินทร์ เรืองจิตต์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Monarin Ruangjitt
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของน้ำหมักจาก Methy/obacterium radiotolerans ED5-9 ที่สามารถ ผลิต IAA ได้ ต่อการผลผลิตเห็ดนางรม โดยใช้ AA ที่ระดับความเข้มข้น (0.64, 1.27 และ 2.55 มิลลิกรัม/ลิตรฉีดพ่นลง บนก้านดอกเห็ด) เปรียบเทียบกับสารควบคุมการเจริญชนิด AA ความเข้มข้น 2.50 มิลลิกรัมลิตร และน้ำกลั่น จากการ ศึกษา พบว่า เห็ดนางรม มีจำนวนวันที่เริ่มเกิดหมวกเห็ดของชุดที่ 1 และ 2 ได้เร็วที่สุดในกรรมวิธีที่ใช้น้ำหมักที่มี AA ความ เข้มข้น 2.55 มิลลิกรัม/ลิตร คือ 1.33 และ 1.60 วัน ตามลำดับ และผลผลิตของเห็ดชุดที่ 1 มีน้ำหนักน้อยที่สุด (50 กรัม) แต่ชุดที่ 2 มีน้ำหนักที่ไม่แตกต่างกับกรรมวิธีอื่น อยู่ในช่วง 67.80 - 82.40 กรัม
บทคัดย่อ (EN): This study aimed to investigate the effect the fermentation broth from the IAA producing Methylobacterium radiotolerans ED5-9 on production yield of oyster mushroom. The various concentrations of IAA at 0.64, 1.27 and 2.55 mg/l were applied spray on the mushroom and were compared with the 2.50 mg/l IAA (synthetic) control and distilled water. The results showed that the days of pileus initiation of series 1 and 2 were 1.33 and 1.60 days respectively when spray with 2.55 mg/l IAA of fermentation broth. The yield of series 1 mushroom (50 g) but the yield of series 2 mushroom were not different all treatments (67.80 – 82.40 g).
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2557
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2558
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=P093 Pat_11.pdf&id=1961&keeptrack=2
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของน้ำหมักจากแบคทีเรีย Methylobacterium radiotolerans ED5-9 ที่ผลิต Indole-3-acetic acid (IAA) ต่อผลผลิตเห็ดนางรม (Pleurotus ostreatus (Jacq. ex Fr.) Kummer)
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2558
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่ผลิตจากแบคทีเรีย Methylobacterium radiotolerans Ed5-9 ร่วมกับสารที่มีฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ก่อโรคพืชที่ผลิตจากแอคติโนมัยสิท Streptomyces TMR 032 ต่อการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อผ ผลของหญ้าซิกแนลเลื้อยหมักร่วมกับแบคทีเรียผลิตกรดแลคติกต่อสมรรถภาพการผลิตของแพะ คุณลักษณะของแบคทีเรียวุ้นสวรรค์ที่ผลิตได้จากแก้วมังกร ประสิทธิภาพของสารสกัดจากแบคทีเรีย Xenorhabdus และ Photorhabdus ในการยับยั้งแบคทีเรียดื้อยา การแยกและคัดกรองแบคทีเรียที่สามารถผลิตเอนไซม์เซลลูเลสจากมูลช้าง ม้า แพะ และโคอาลา ประสิทธิภาพของสารประกอบบริสุทธิ์จากแบคทีเรีย Xenorhabdus และ Photorhabdus ในการยับยั้งแบคทีเรียที่ก่อโรคในคน การผลิตเอนไซม์เซลลูเลสและไซลาเนสโดยแบคทีเรียที่คัดแยกได้จากของเสียจากชุมชน และการแปรรูปผลไม้ จลศาสตร์ของเชื้อบริสุทธิ์ไนเตรทรีดิวซิงแบคทีเรียสำหรับใช้ในการผลิตแหนม ประสิทธิภาพของสารประกอบบริสุทธิ์จากแบคทีเรีย Xenorhabdus และ Photorhabdus สายพันธุ์ไทย ในการยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียดื้อยา การศึกษาการผลิตสารประกอบโพลีฟีนอลในเนื้อเยื่องาขี้ม้อน ที่เพาะเลี้ยงร่วมกับแบคทีเรียเอนโดไฟท์

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก